การตามรอยจุดกำลังสูงสุดด้วยฟัซซีลอจิกร่วมกับวีธีการรบกวนและสังเกตของระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ

Main Article Content

อธิษฐ์ รุ่งเจริญ
โกศล ชัยเจริญอุดมรุ่ง
จักรกริช ภักดีโต
กองพัน อารีรักษ์
กองพล อารีรักษ์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการตามรอยจุดกำลังไฟฟ้าสูงสุดสำหรับระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ ระบบที่พิจารณาประกอบไปด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ที่เชื่อมต่อกับวงจรแปลงผันแบบบัคก์และใช้แบตเตอรี่เป็นแหล่งเก็บพลังงาน ระบบการตามรอยจุดกำลังไฟฟ้าสูงสุดโดยทั่วไปจะใช้วิธีการรบกวนและสังเกตเนื่องจากมีการควบคุมที่ง่าย ประสิทธิภาพของวิธีรบกวนและสังเกตขึ้นอยู่กับขนาดของสัญญาณควบคุม โดยใช้อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าวัฏจักรหน้าที่ () เป็นสัญญาณควบคุมฟัซซีลอจิกสามารถนำมาใช้งานกับระบบที่ไม่เป็นเชิงเส้นได้ซึ่งทำให้มีการนำไปใช้ได้กับระบบหลายระบบ ในบทความนี้อาศัยฟัซซีลอจิกกำหนดค่า  ที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุม วิธีการที่นำเสนอจะยืนยันประสิทธิภาพโดยใช้ Simulink ในโปรแกรม MATLAB การทดสอบในห้องปฏิบัติการและชุดต้นแบบขนาด 2.4 kW ที่นำไปใช้กับโรงเรือนควบคุมระบบจ่ายน้ำ ณ ฟาร์มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ผลการจำลองและผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าวิธีที่นำเสนอสามารถลู่เข้าสู่จุดกำลังสูงสุดได้เร็วกว่าและลดการแกว่งของกำลังไฟฟ้าได้ดีกว่าเมื่อเทียบกับวิธีรบกวนและสังเกต

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

Trishan Esram, Patrick L. Chapman “Comparison of Photovolaic Array Maximum Power Point Tracking Techniqued” in IEEE Trans., Energy Conversion., Vol.22, No2, pp 439-449, July 2007

D. K. Sharma, G.Purohit, “Advanced Perturbation and Observation (P&O) based Maximum Power Point Tracking (MPPT) of a Solar Photo-Voltaic System” in IEEE, 2012

Ratil H Ashique, Zainal Salam, Jubaer Ahmed, “An Adaptive P&O MPPT Using a Sectionalized Piece-wise Linear P-V Curve” in IEEE, 2015

Maissa Farhat, Oscar Barambones, Lassaad Sbita “A Real-Time Implementation of MPPT-Based on P&O Method” in IEEE, 2016

HAYDER Wafa, ABID Aicha, BEN HAMED Mouna, “Steps of duty cycle effects in P&O MPPT algorithm for PV system” in IEEE, 2017

Murari Lal Azad, Soumya Das, Pradip Kumar Sadhu, Biplab Satpati, Anagh Gupta, P. Arvind “P&O algorithm based MPPT technique for solar PV System under different weather conditions” in ICCPCT, 2017

S. Uma Ramani, Sathish Kumar Kollimalla, B. Arundhati “Comparitive Study of P&O and Incremental Conductance method for PV System” in ICCPCT, 2017

Aicha Djalab, Ali Teta, Mohamed Mounir Rezaoui, Mohamed Boudiaf, “Analysis of MPPT Methods: P & O, INC and Fuzzy Logic (CLF) for a PV System” in CEIT, 25-27 October 2018, Istanbul, Turkey

Kriti Jain, Prof. Manju Gupta, Dr. Aashish Kumar Bohre, “Implementation and Comparative Analysis of P&O and INC MPPT Method for PV System” in IEEE, 2018

Mohammed Zerouali, Salaheddine Zouirech, Abdelghani El Ougli, Belkassem Tidhaf, Hafida Zrouri, “Improvement of Conventional MPPT

Techniques P&O and INC by Integration of

Fuzzy Logic” in IEEE, 2019

Dikshita Nath, Tilok Boruah, “P&O and Fuzzy based MPPT for PV System” in IEEE, 2020

Dr. szemes, Peter Tamas, Masoud Melhem, “Analyzing and modeling PV with "P&O" MPPT Algorithm by MATLAB/SIMULINK” in IEEE, 2020

Savita Baraskar, Sachin Kunmar Jain, and Prabim K.Padhy “Fuzzy logic assisted P&O based improved MPPT for photovoltaic systems,” in Proc. ICETEESES – 16, March 2016

Bibhu Prasad Ganthia, Rosalin Pradhan, Sibani Das, Sibani Ganthia, “Analytical Study of MPPT based PV System using Fuzzy Logic Controller” in ICECDS, 2017

Dilovan Haji, Naci Genc, “Fuzzy and P&O Based MPPT Controllers under Different Conditions” in ICRERA, Paris, FRANCE, Oct. 14-17, 2018

Jaldeep Kumar, Jaldeep Kumar, Prakash Bahrani, “Fuzzy and P&O MPPT Techniques for Stabilized

the Efficiency of Solar PV System” in GUCON, Greater Noida, UP, India. Sep 28-29, 2018