การออกแบบเส้นทางการเคลื่อนที่สำหรับรถแทรกเตอร์อัตโนมัติด้วยฟังก์ชันโพลิโนเมียล
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบเส้นทางการเคลื่อนที่สำหรับรถแทรกเตอร์อัตโนมัติ ฟังก์ชันโพลิโนเมียลถูกนำมาใช้ในการสร้างเส้นทางที่ครอบคลุมเงื่อนไขของตำแหน่งเริ่มต้นและตำแหน่งเป้าหมาย สมรรถนะของระบบออกแบบเส้นทางถูกตรวจสอบโดยการจำลองสถานการณ์ด้วยโปรแกรม LabVIEW ผลการจำลองแสดงให้เห็นว่า ระบบออกแบบเส้นทางสามารถนำรถแทรกเตอร์เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งเป้าหมายได้อย่างราบเรียบทั้งกรณีเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและเคลื่อนที่ถอยหลัง อย่างไรก็ตามข้อจำกัดของมุมเลี้ยวทำให้รถแทรกเตอร์เคลื่อนที่ไปไม่ถึงเป้าหมายที่ตั้งไว้
Article Details
วารสารวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีควบคุมอัตโนมัติ (FEAT Journal) มีกําหนดออกเป็นราย 6 เดือน คือ มกราคม - มิถุนายน และกรกฎาคม - ธันวาคม ของทุกปี จัดพิมพ์โดยกลุ่มวิจัยวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีควบคุมอัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ ผลงานทางวิชาการ งานวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีพร้อมทั้งยังจัดส่ง เผยแพร่ตามสถาบันการศึกษาต่างๆ ในประเทศด้วย บทความที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร FEAT ทุกบทความนั้นจะต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องและสงวนสิทธิ์ ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2535
References
[2] Keicher, R. and Seufert, H.,2000. Automatic guidance for agricultural vehicles in Europe. Computers and Electronics in Agriculture,25 (1-2), 169–194.
[3] Reid, J.F., Zhang, Q., Noguchi, N. and Dickson, M., 2000. Agricultural automatic guidance research in North America. Computers and Electronics in Agriculture, 25 (1-2), 155–167.
[4] Torii, T.,2000. Research in autonomous agriculturevehicles in Japan. Computers and Electronics in Agriculture,25 (1-2), 133–153.
[5] ธีรวัฒน์ เจเถื่อน, พยุงศักดิ์ จุลยุเสน, คธา วาทกิจ, และจรูญศักดิ์ สมพงศ์(2559).การจำลองระบบออกแบบเส้นทางของรถแทรกเตอร์อัตโนมัติเพื่อการเลี้ยวกลับรถที่หัวแปลง.การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทยระดับชาติ ครั้งที่ 17 ประจำปี 2559, กรุงเทพมหานคร