การพัฒนาคุณสมบัติวัสดุผสมพลาสติกรักษ์สิ่งแวดล้อม เพื่อใช้เป็นวัสดุแม่พิมพ์ขึ้นรูป ด้วยระบบสูญญากาศ

Main Article Content

Anuwit TID sonsiri
ปราโมทย์ พลิคามิน
นพดล อ่ำดี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้นำเสนอการพัฒนาวัสดุผสมพลาสติกรักษ์สิ่งแวดล้อม ระหว่าง วัสดุสังเคราะห์ ผสมรวมกับวัสดุธรรมชาติ ประกอบด้วย โพลีเอสเตอร์เรซินสภาวะของเหลว ผงอลูมิเนียม ผงทัลคัม และผงอิฐมอญ เพื่อให้ได้วัสดุชนิดใหม่ที่มีคุณสมบัติทางกล ด้านความแข็ง สำหรับนำไปใช้เป็นวัสดุ ของกระบวนการเทอร์โมฟอร์มมิ่ง แม่พิมพ์ขึ้นรูปด้วยสูญญากาศ โดยการปฏิบัติการผสม วัสดุผสมพลาสติกรักษ์สิ่งแวดล้อม ทำชิ้นงานทดสอบ(Specimen) จำนวน 32 ชิ้นทดสอบ กำหนดค่าน้ำหนักส่วนผสมแต่ละชิ้นเท่ากับ20กรัม และนำชิ้นงานทดสอบ ตรวจสอบหาค่าความแข็งตามมาตรฐาน ASTM D2240(1990) ระดับความแข็ง Shor-D ซึ่งผลจากงานวิจัยพบว่า ส่วนผสมวัสดุผสมพลาสติกรักษ์สิ่งแวดล้อม อัตราส่วน โพลีเอสเตอร์เรซินสภาวะของเหลว 10 กรัม ผงอลูมิเนียม 2 กรัม ผงทัลคัม 4 กรัม และผงอิฐมอญ 4กรัม ระยะเวลาการแข็งของส่วนผสม 6 ชั่วโมง มีคุณสมบัติความแข็งดีที่สุด 84.6 Shor-D เหมาะสำหรับใช้สร้างแม่พิมพ์ขึ้นรูปด้วยสูญญากาศ เพื่อเพิ่มทางเลือกของวัสดุในการผลิต ภาคอุตสาหกรรมต่อไป

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย

References

ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจฐาน ราก ธนาคารออมสิน. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http:// www.gsb.or.th/GSBResearch.aspx.

Sonsiri A, Palicamin P, Singpommat D. Optimal Composition of mixer Material for The Thermoforming Process. Applied Mathematics, Mechanics and Engineering. Technical University of Cluj-Napoca. Romania. 2018; 61(1): 99-104.

ขจร อัจจิมาจิรัฐิติกาล และ กิตติ สถาพร ประสาธน์. การพัฒนาการขึ้นรูปวัสดุเชิง ประกอบที่เสริมแรงด้วยเส้นใยธรรมชาติ. วารสารเกษมบัณฑิต. 2558; 5(1): 94-111.

ศรุต อำมาตย์โยธิน. วัสดุเชิงประกอบ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: กรุงเทพฯ; 2558.

วัตถุดิบเซรามิกทัลคัม. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaiceramicsociety.com

วิชญวัฒน์ เกตุอู๊ต. อิทธิพลของผงอลูมิเนียมที่มีผลต่อความหยาบผิวเหล็กกล้าเครื่องมือSKD11 ด้วยกระบวนการPMEDM. [วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต]. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี; 2557.

คุณสมบัติของอิฐมอญ. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2558]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ienergyguru.com

กิติสัณห์ มงคลสุทธิรัตน์. เครื่องวัดความแข็ง ยางและการเลือกใช้สเกล. Metrology info. 2558; 17(84): 8-11.

อนุชิต คงฤทธิ์ และ จิตติวัฒน์ นิธิกาญจนธาร. ผลกระทบของสารช่วยผสานที่มีต่อสมบัติทางกลและสมบัติทางกายภาพของคอมโพสิตพอลิโพรพิลีนผสมกากกาแฟ. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.2561; 11(1): 18-28.

สุภาภรณ์ คงสวัสดิ์. การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี. Executive Journal. 2554; 31(4): 116-21.

พลาสติกประเภทและการใช้งาน. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.mtec.or.th/th/special/Biodegradableplastic/type.htm

AxsonTech2012-120322AxsonNA2011Product Brochure. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่10 ตุลาคม 2562]. เข้าถึงได้จาก: http://www.Profressionalplasts.com