การออกแบบและพัฒนาต้นแบบยานยนต์อเนกประสงค์ไฟฟ้า

Main Article Content

วิรุณ โมนะตระกูล
ชลดา ยอดยิ่ง
สมสุข ไตรศุภกิตติ
ติณห์ บุญมี
จอมทรัพย์ วรนาวิน
กันตพงษ์ แข้โส

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการออกแบบและสร้างยานพาหนะไฟฟ้า วัตถุประสงค์ของการออกแบบคือโครงสร้างที่มีมาตรฐานความปลอดภัย น้ำหนักเบา และชุดต้นกำลังขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า จากการออกแบบและสร้างทำให้ได้รถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างแบบท่อโครงถัก (tube space frame chassis) มีค่าความปลอดภัย (F.O.S) เท่ากับ 5.44 โดยใช้ชุดต้นกำลังเป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง 60 โวลต์ขนาด 3 แรงม้า และแหล่งป้อนกระแสไฟใช้แบตเตอรี่ขนาด 12 โวลต์ 60 แอมแปร์-ชั่วโมง 5 ลูก ต่อแบบอนุกรม ผลการทดสอบสมรรถนะใช้งาน สามารถวิ่งได้ระยะทาง 45 km ความเร็วสูงสุด 36 km/h รับน้ำหนักบรรทุกได้ 600 kg และขึ้นเนินได้ 30 องศา ระยะเวลาในการชาร์จไฟเข้าแบตเตอรี่ 7 ชั่วโมง สามารถประยุกต์ใช้งานได้หลากหลายตามความต้องการของชุมชนหรือหน่วยงานที่ต้องการระบบขนส่งสาธารณะขนาดเล็ก

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย

References

กฤษฎา เสกตระกูล. ธุรกิจกับการแก้ปัญหาโลกร้อน (ตอนที่ 1). (สื่อออนไลน์) [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2566]. เข้าถึงได้จาก https://mgronline.com/greeninnovation/detail/9640000056453.

ชัยยศ ยงค์เจริญชัย. โลกร้อน: ไทยจะประกาศลดก๊าซเรือนกระจก 25% ในที่ประชุม COP26 แต่นักสิ่งแวดล้อมว่าน้อยไป. (สื่อออนไลน์) [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2566]. เข้าถึงได้จาก https://www.bbc.com/thai/international-59059419.

ธนดล ชินอรุณมังกร. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคลระบบไฟฟ้า (EV). [ปริญญานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2563.

อังคีร์ ศรีภคากร. ยานยนต์ไฟฟ้า : พื้นฐานการทำงานและการออกแบบ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ; 2554.

ดนัยกฤต อินทุฤทธิ์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ BEV. (สื่อออนไลน์) [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2566]. เข้าถึงได้จาก. Available: https://arit.rmutto.ac.th/e-book/admin/book_file/100bookfile.pdf.

สุชาติ เซี่ยงฉิน, ธีรวัช บุณยโสภณ, ชาญชัย ทองประสิทธิ์, ภาวิณี บุณยโสภณ, กัลป์ยกร ไพบูลย์, ทวีศักดิ์ รูปสิงห์ และคณะ. การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้รถประจำทางไฟฟ้าสำหรับการขนส่งมวลชนระยะไกล. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2560; 27(4): 855–70.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แห่งชาติ. รถโดยสารไฟฟ้าต้นแบบ ที่พัฒนาจากรถโดยสารประจำทางใช้แล้วขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ. (สื่อออนไลน์) [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2566]. เข้าถึงได้จาก https://www.nstda.or.th/nac/2022/exhibition/prototype-electric-bus/

Pornpimol Kulab. รถบัสไฟฟ้า (Electric Bus) ผลงานความสำเร็จของทีมวิจัย มทร.อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น x บมจ.ช ทวี. (สื่อออนไลน์) [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2566]. https://www.iphonemod.net/electric-bus-the-success-of-thai-people.html.

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. (สื่อออนไลน์) [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2566]. https://www.rmu.ac.th/about.

วิรุณ โมนะตระกูล วสันต์ เธียรสุวรรณ และ ปรัตถกร เหมะรัตน์. การออกแบบรถสามล้อไฟฟ้าอเนกประสงค์ต้นแบบ. การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28, 15-17 ตุลาคม 2557, จังหวัดขอนแก่น; 2557.

Brendan J Waterman and Adam Wittek. Design and Construction of a Space-frame Chassis. [Final Year Project Thesis, School of Mechanical and Chemical Engineering]. Australia University of Western Australia; 2011.

ชุมพล ศฤงคารศิริ. การวางแผนและควบคุมการผลิต. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น: กรุงเทพฯ; 2545.

ปราโมทย์ เดชะอำไพ, วิโรจน์ ลิ่มตระการ, เสฏฐวรรธ สุจริตภวัตสกุล และ ยศกร ประทุมวัลย์. การประยุกต์ใช้ไฟไนต์เอลิเมนต์ด้วย SolidWorks Simulation. สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.: กรุงเทพมหานคร; 2552.