เครื่องอัดแท่งชีวมวลจากเศษวัสดุทางการเกษตรแบบกึ่งอัตโนมัติ

Main Article Content

บุญฤทธิ์ บัวระบัติ

บทคัดย่อ

เครื่องอัดแท่งชีวมวลจากเศษวัสดุทางการเกษตรแบบกึ่งอัตโนมัติ มีมิติของเครื่องขนาด 50x80x53 เซนติเมตร น้ำหนักเครื่องเปล่า 42 กิโลกรัม ทำการทดสอบอัดแท่งกับวัสดุทางการเกษตรทั้ง 3 ชนิด คือใบปาล์มสด ใบกล้วยสด และใบตองเต๊าสด ที่ความเร็วรอบสกรูอัด 290 รอบต่อนาที มีประสิทธิภาพการทำงานของเครื่อง ร้อยละ 96.75 ความสามารถในการอัดแท่งชีวมวลสูงสุด 43.8 กิโลกรัมต่อชั่วโมง แท่งชีวมวลที่ได้จากเครื่องอัดแท่งชีวมวล มีลักษณะหกเหลี่ยม ขนาด 5x10 เซนติเมตร ให้ค่าความร้อน 4,238   3,597 และ 4,025 แคลลอรีต่อกรัม ตามลำดับ และทำการทดสอบต้มน้ำสามารถทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูงสุด 87 องศาเซลเซียส ในช่วงระยะเวลา  20-27 นาที มีระยะเวลาคืนทุนของเครื่องจักรอยู่ที่ 180-205  ชั่วโมงต่อปี และมีจุดคุ้มทุนอยู่ที่ 43-49 ชั่วโมงต่อปี

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย

References

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. เนื้อที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร.สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ; 2563.

ธราพงษ์ วิทิตศานต์ และ สาวิตรี จันทรานุรักษ์. การผลิตถ่านอัดก้อนที่มีคุณภาพสูงจากวัสดุเหลือใช้โดยใช้เครื่องอัดแท่งชนิดเกลียว. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2543.

นพพร สุดใจธรรม. การผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากกากกาแฟ. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2553.

ผกามาศ น้อยสุวรรณ, กันตพงษ์ แข้โส, พีรณัฐ อันสุรีย์ และ กิตติพงษ์ ลาลุน. การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพเบื้องต้นของกากหม้อกรองในกระบวนการผลิตน้ำตาลสำหรับขึ้นรูปเป็นชีวมวลอัดเม็ด. วารสารวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัติ. 2564; 7(2): 105-19.

สังเวย เสวกวิหารี. ศักยภาพด้านพลังงานของเชื้อเพลิงอัดแท่งจากเปลือกมังคุด. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร; 2555.

The Bangkok insight. ชีวมวล พลังงานสีเขียวเป็นมิตรต่อโลก. The Bangkok insight Editorial Team. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 กันยายน 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thebangkokinsight.com.

พงษ์ศักดิ์ อยู่มั่น. การพัฒนาเครื่องอัดแท่งถ่านในรูปแบบเกลียวอัดเย็นสำหรับเชื้อเพลิงชีวมวลจากเศษวัสดุเหลือใช้ในกระบวนการผลิตกาแฟชุมชนและการหาคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงจากผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่ง. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 2559; 9(1): 34-48.

อนุศักดิ์ ฉิ่นไพศาล. การบำรุงรักษา. ซีเอ็ดยูเคชั่น: กรุงเทพฯ; 2557.

มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนถ่านอัดแท่ง. มผช.238/2547. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.

Fuel Calorimetry Test. Department of Food Technology. Faculty of Agricultural Industrial Technology Rajamangala University of Technology Tawan-Ok ; 2021.

Thanapol T. Community-Based Renewable Energy from Biomass Briquettes Fuel from Coconut Leaf. Journal of Science and Technology. 2015; 23(3): 418-31.

จตุรงค์ ลังกาพันธุ์. การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์วิศวกรรมในการใช้เครื่องจักรกลเกษตรเบื้องต้น. ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี: ปทุมธานี; 2563.

งานพัฒนาพลังงานจากไม้. รวมบทคัดย่องานวิจัย พ.ศ. 2525-2550. กลุ่มงานพัฒนาผลิตผลป่าไม้ สำนักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้; 2550.

SME in Focus ส่องตลาด Biomass ‘ทีพีเอ็น กรีน’ ผู้เปลี่ยนขยะเกษตรเป็นเชื้อเพลิง. SME Social Planet. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 1 กันยายน 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://www.bangkokbanksme.com