การสะสมของแอมโมเนียทั้งหมด แอมโมเนียอิสระ และไนเตรท ในบ่อเลี้ยงปลาระบบน้ำหมุนเวียน

Main Article Content

Kulyakorn Khuanmar
รศ.ดร.ธนา ราษฎร์ภักดี
พนมชัย วีระยุทธศิลป์
สุรพงษ์ ชาวสวนงาม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการสะสมของ แอมโมเนียทั้งหมด (TAN) แอมโมเนียอิสระ (NH3) และไนเตรท (NO3) ในระบบเลี้ยงปลาแบบระบบน้ำหมุนเวียนเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาเปลี่ยนถ่ายน้ำให้เหมาะสมต่อการเลี้ยงปลาด้วยระบบน้ำหมุนเวียนที่ผ่านการบำบัดด้วยระบบตัวกรองชีวภาพ ในการทดลองได้เลี้ยงปลานิล 2 ความหนาแน่น คือ  30 ตัว/ลบ.ม. และ 40 ตัว/ลบ.ม. และเพื่อลดการสะสมของของเสียในบ่อเลี้ยงปลา ได้ทำการเปลี่ยนถ่ายน้ำจากบ่อเลี้ยงทดสอบทุก 2 สัปดาห์ จากผลการศึกษาพบว่า การสะสม TAN NH3 และ NO3 ในบ่อเลี้ยงปลาแปรผันตามความหนาแน่นของปลาในบ่อเลี้ยง หากรอบการเปลี่ยนถ่ายน้ำกำหนดที่ 2 สัปดาห์ ปริมาณการสะสมของ TAN และ NO3 อยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ อย่างไรก็ตามการสะสมของ NH3 เป็นปัจจัยหลักที่จะต้องใช้เป็นตัวกำหนดระยะเวลาการเปลี่ยนถ่ายน้ำ คือควรเปลี่ยนถ่ายน้ำทุก 1 อาทิตย์เพื่อลดความเป็นพิษของ NH3 ต่อปลา

Article Details

How to Cite
1.
Khuanmar K, ราษฎร์ภักดี ร, วีระยุทธศิลป์ พ, ชาวสวนงาม ส. การสะสมของแอมโมเนียทั้งหมด แอมโมเนียอิสระ และไนเตรท ในบ่อเลี้ยงปลาระบบน้ำหมุนเวียน. featkku [อินเทอร์เน็ต]. 24 ธันวาคม 2021 [อ้างถึง 23 มกราคม 2025];7(2):159-67. available at: https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/featkku/article/view/245592
บท
บทความวิจัย

References

Yang L, Chou L, Shieh, WK. Biofilter treatment of aquaculture water for reuse applications. Water research. 2001; 35(13): 3097-108.

Dauda AB and Olusegun AA. Interrelationships among Water Quality Parameters in Recirculating Aquaculture System. Nigerian Journal of Rural Extension and Development. 2014; 7(2): 20-5.

Zweig RD, Morton JD, Stewart MM. Source Water Quality for Aquaculture: A Guide for Assessment. 1999

Buttner JK, Soderberg RW, Terlizzi DE. An introduction to water chemistry in freshwater aquaculture. Northeastern Regional Aquaculture Center, University of Massachusetts. Dartmouth North Dartmouth Massachusetts. 1993; 170: 1-4.

Masser MP, Rakocy J, Losordo TM. Recirculating Aquaculture Tank Production Systems. Management of Recirculating Systems. Southern Regional Aquaculture Center Publication. 1992; 452.

Kenneth E, Russo RC, Lund RE, Thurston R. Aqueous Ammonia Equilibrium Calculations: Effect of pH and Temperature. Journal of the Fisheries Research Board of Canada. 1975; 32: 2379-83.

อังสนา ฉั่วสุวรรณ์ และ สังวาลย์ ราชธรรมมา. ผลกระทบของแอมโมเนียต่อสัตว์น้ำ. รายงานผลการวิจัย. กรมวิทยาศาสตร์บริการ: กรุงเทพฯ; 2549

Durborow R, Crosby D, Brunson M. Ammonia in Fish Ponds. 1997; 32.