สร้างห้องเย็นราคาประหยัดโดยใช้ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วนชนิด R-22

Main Article Content

อภิชาติ อาจนาเสียว
ธัญสุภรัตน์ สาศรีเมือง
ชานุ โพธิพิทักษ์

บทคัดย่อ

ห้องเย็นราคาถูกขนาด 22.5 m3 ถูกสร้างขึ้นมาโดยใช้ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน สารทำความเย็นเลือกเป็น R-22 ให้มีอุณหภูมิลดลงเหลือ 15 0C เพื่อรักษาความสดให้ผักและผลไม้ก่อนการบรรจุ ใช้น้ำและกล้วยเป็นโหลดความร้อน ทำการทดสอบอุณหภูมิและความดันของสารทำความเย็น ตรวจวัดกำลังไฟฟ้า เพื่อหา COP ตรวจอุณหภูมิในห้องเย็นและจับเวลา ผลการทดลอง พบว่า ความดันสารทำความเย็นด้าน low มีค่าช่วง 45-55 psig และในด้าน high อยู่ที่ 220-250 psig เมื่อใช้น้ำเป็นโหลด สามารถลดอุณหภูมิน้ำจาก 32 0C ลงมาที่       28 0C ภายในเวลา 180 นาที ส่วนค่า COP ของระบบทำความเย็น ที่อุณหภูมิในห้องเย็นในช่วง 14-25 0C มีค่าในช่วง 4.2-6.7 เมื่อใช้กล้วยเป็นโหลด สามารถลดอุณหภูมิกล้วยจาก 28 0C ลงมาที่ 15 0C ภายในเวลา 130 นาที ส่วนค่า COP ของระบบทำความเย็น ที่อุณหภูมิในห้องเย็นในช่วง 15-24 0C มีค่าในช่วง 4.1-6.2 มีราคาประมาณ 60,000 บาท

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย

References

ฝ่ายวิจัยและกลยุทธ์ สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม. สรุปภาวะอุตสาหกรรมอาหารไทยปี 2565 และแนวโน้มปี 2566 :กระทรวงอุตสาหกรรม; 2567.

Canovas GVB, Alzamora SM, Tapia MS. Handling and preservation of fruits and vegetables by combined methods for rural areas. Food and Agriculture Organization of the United Nations: Rome; 2003สังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 2, 5-6 สิงหาคม 2562. จังหวัดสงขลา; 2562.

Makule E, Dimoso N, Tassou SA. Precooling and Cold Storage Methods for Fruits and Vegetables in Sub-Saharan Africa-A Review. Horticulturae. 2022; 8(1): 776-791.

การแบ่งกลุ่มผักผลไม้ตามอุณหภูมิแช่เย็นและความชื้นสัมพัทธ์. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567]. เข้าถึงได้จาก: http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/2139/การแบ่งกลุ่มผักผลไม้ตามอุณหภูมิแช่เย็นและความชื้นสัมพัทธ์

อานนท์ สายคำฟู, วิชัย โอภานุกุล, ตฤณสิษฐ์ ไกรสินบุรศักดิ์, et al. ออกแบบและพัฒนาระบบปรับอากาศและระบบทำความเย็นสำหรับการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์พืช. ผลงานวิจัยดีเด่น กรมวิชาการเกษตร. 2558; 168–183.

17 ข้อต้องรู้ ก่อนมีห้องเย็น. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://topcooling.net/th/article/17howto.php.

Sunmonu M, Falua K, Basic AD. Development of a low-cost refrigerator for fruits and vegetables storage. International Journal of Basic and Applied Science. 2014; 50(2): 321-8.

Zappia A, De Bruno A, Torino R. Influence of light exposure during cold storage of minimally processed vegetables (Valeriana sp.). Journal of Quality. 2018; 2018: 1-7.

Sabari Priyan J, Sakthivel S, Rajan KS. Design and Development of Modified Air Cooler and Storage System. International Research Journal of Engineering and Technology. 2016; 3(4): 2920-2924.

Lemmon EW, Huber ML, Mclinden MO. NIST Standard Reference Database 23 NIST Reference Fluid Thermodynamic and Transport Properties-REFPROP User’s Guide. US Department of Commerce. Colorado; 2013.

Thompson J, Kader A, Sylva K. Compatibility Chart for Short-term Transport or Storage. Oakland; 1996.

Sharma PK, Arun Kumar HS. Solar Powered Movable Cold Storage Structure for Perishables.Current science, 2018; 114(10): 2020-2023.

Meng X, Huang Y, Cao Y. Optimization of the wall thermal insulation characteristics based on the intermittent heating operation. Case Studies in Construction Materials. 2018; 9: e00188.

Wasala WMCB, Dharmasena DAN, Dissanayake TMR. Physical and Mechanical Properties of Three Commercially Grown Banana (Musa acuminata Colla) Cultivars in Sri Lanka. Tropical Agricultural Research. 2012; 24: 42–53.

Pawar KR, Atkari VT, Sutar RF. Engineering properties of row banana (Musa paradisica L.) fruit. International Journal of processing and post harvest technology. 2012; 3: 251–255.

สมบัติทางความร้อนของกล้วยไข่ (Musa suerier) และ กล้วยน้ำว้า (Musa sapientum Linn.). ฐานข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.phtnet.org/research/view-abstract.asp?research_id=ag023.

ตุลย์ มณีวัฒนา และ พงศกร ธัญญธาดา. determination of wall CLTD for cooling load calculation in Thailand. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2556.

อิฐมวลเบา. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567]. เข้าถึงได้จาก:https://www.xn--l3cahhe4c8f2ab8l2b.com/2011/11/blog-post_09.html.

Heat Transfer Through The Building Envelope: การถ่ายเทความร้อนผ่านกรอบอาคาร. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://ienergyguru.com/2015/09/heat-transfer-through-the-building-envelope/.

American Society of Heating, Refrigerating and Air-Conditioning Engineers. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thenbs.com/publicationindex/documents?Pub=ASHRAE.

Effect of Shorter Compressor On/Off Cycle Times on A/C System Performance. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อวันที่ 25 เมษายน 2567]. เข้าถึงได้จาก: https:// core.ac.uk/reader/4822580

Raghunatha Reddy DV, Bhramara P, Govindarajulu K. Hydrocarbon Refrigerant mixtures as an alternative to R134a in Domestic Refrigeration system: The state-of-the-art review. NCRTME. 2016: 1240–1251.

Mishra R, Chaulya SK, Prasad GM. Design of a low cost, smart and stand-alone PV cold storage system using a domestic split air conditioner. Journal of Stored Products Research. 2020; 89: 101720

Martínez P, Ruiz J, Cutillas CG. Experimental study on energy performance of a split air-conditioner by using variable thickness evaporative cooling pads coupled to the condenser. Applied Thermal Engineering. 2016; 105: 1041–1050.

Mohammed JAK, Mohammed FM, Jabbar MAS. Investigation of high performance split air conditioning system by using Hybrid PID controller. Applied Thermal Engineering. 2018; 129: 1240–1251.