แบบจำลองอบแห้งชั้นบางที่เหมาะสมสำหรับการอบแห้งข้าวเปลือก ด้วยเครื่องอบแห้งแบบพาหะลม
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการอบแห้งชั้นบางแบบสมการเอมพิริคัลที่เหมาะสมสำหรับทำนายการเปลี่ยนแปลงความชื้นของข้าวเปลือกในกระบวนการอบแห้งของเครื่องอบแห้งพาหะลม ข้าวเปลือกที่ใช้ทดสอบอบแห้งมีความชื้นเริ่มต้น 26%w.b. ปริมาณ 20 kg อัตราการป้อนข้าวเปลือกเป็น 8.45 kg/min และอัตราการไหลของอากาศอบแห้งเท่ากับ 0.0631 m3/s คงที่ตลอดการทดสอบ ทดสอบอบแห้งข้าวเปลือกด้วยอุณหภูมิอากาศ 70ºC และ 80ºC ผลการศึกษาพบว่า แบบจำลองของ Midilli et al. มีความเหมาะสมแก่การทำนายคุณลักษณะการอบแห้งข้าวเปลือกด้วยเครื่องอบแห้งแบบพาหะลม ภายใต้เงื่อนไขอุณหภูมิอากาศอบแห้ง 70ºC และ 80ºC มากที่สุดเมื่อเปรียบกับแบบจำลองเอมพิริคัลรูปแบบอื่นโดยมuค่า R2 สูงถึง 0.999 และ 0.998 สำหรับการอบแห้งที่ 70ºC และ 80ºC ตามลำดับ และค่า RMSE ต่ำสุดเป็น 0.0083 และ 0.0115 สำหรับการอบแห้งที่ 70ºC และ 80ºC ตามลำดับ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสารวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีควบคุมอัตโนมัติ (FEAT Journal) มีกําหนดออกเป็นราย 6 เดือน คือ มกราคม - มิถุนายน และกรกฎาคม - ธันวาคม ของทุกปี จัดพิมพ์โดยกลุ่มวิจัยวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีควบคุมอัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้ ผลงานทางวิชาการ งานวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีพร้อมทั้งยังจัดส่ง เผยแพร่ตามสถาบันการศึกษาต่างๆ ในประเทศด้วย บทความที่ตีพิมพ์ลงในวารสาร FEAT ทุกบทความนั้นจะต้องผ่านความเห็นชอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้องและสงวนสิทธิ์ ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2535
References
Thai Rice Exporters Association, editors. HOM MALI NAMED BEST RICE IN WORLD: Thai Hom Mali Rice was named the world’s best rice at the 2021 World Rice Conference held in Dubai [Internet]. [cited 2022 Feb 12]. Available from: http://www.thairiceexporters.or.th /default_eng.htm
สถิติการส่งออกข้าวหอมมะลิไทย (รายประเทศ / เปรียบเทียบรายปี) เดือน กันยายน 2564. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.dft.go.th/th-th/DFT-ServiceService-Data-Information/Statistic-Import-Export/Detail-dft-service-data-statistic/ArticleId/20700/20700.
Rice Knowledge Bank, IRRI. Moisture content for safe storage [Internet]. [cited 2022 March 12]. Available from: http://www.knowledgebank.irri.org/step-by-step-production/postharvest/storage/moisture-content-for-safe-storage.
Chakraverty A and Singh RP. Postharvest technology and food process engineering. CRC Press; 2014.
สมชาติ โสภณรณฤทธิ์. การอบแห้งเมล็ดพืชและอาหารบางประเภท. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี: กรุงเทพฯ; 2540.
พิรสิทธิ์ ทวยนาค, มณฑล ชูโชนาค, มุสตาฟา ยะภา และ ประชา บุณยวานิชกุล. การทบทวนพัฒนาการของการลดความชื้นข้าวเปลือกในทางอุตสาหกรรม. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ. 2557; 9(1): 68-74.
ปิยะพล ฟุ้งพงศ์พันธุ์, ศุภณัฐ์ ไผทโสภณ, อานันท์ ตั้นภูมี, ฉัตรชัย นิมมล, กิตติ สถาพรประสาธน์. อิทธิพลของขนาดหออบแห้งที่มีต่อประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ของเครื่องอบแห้งแบบพาหะลม. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ. 2559; 11(1): 1-9.
จิตรารัตน์ จอกกิ่ว. การประเมินสมรรถนะเครื่องอบแห้งข้าวเปลือกแบบพาหะลม. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต]. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2559.
วิโรจน์ ฤทธิ์ทอง, ไพศาล การถาง และ วัลลภ ภูผา. รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาระบบการอบแห้งข้าวเปลือกด้วยพาหะลมและเกลียวลำเลียง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร; 2557.
เทวรัตน์ ตรีอำนรรค, กระวี ตรีอำนรรค, เกียรติศักดิ์ ใจโต, จิตรารัตน์ จอกกิ่ว, ธีรวัฒน์ ชื่นอัศดงคต, นากชนก ปรางปรุ และ เบญจวรรณ วานมนตรี. รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาเครื่องอบแห้งข้าวเปลือกด้วยเทคนิคพาหะลมหมุนเวียน. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2562.
ปฏิวัติ วรามิตร, บัณฑิต กฤตาคม, นันทวัฒน์ วีระยุทธ, อำไพศักดิ์ ทีบุญมา และ โสภณ สินสร้าง. แบบจำลองการอบแห้งที่เหมาะสมสำหรับการอบแห้งบอระเพ็ดด้วยลมร้อน. วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2556; 6(1): 1-8.
ศิวกร ศรีธัญญากร, กีรติ สุลักษณ์ และ ทวิช จิตรสมบูรณ์. แบบจำลองสัมประสิทธิ์การแพร่ความชื้นสำหรับการอบแห้งชั้นบางของข้าวเปลือกด้วยเครื่องอบแห้งแบบเป่าพ่นหล่นอิสระ. วารสารวิชาการและวิจัย มทร. พระนคร. 2563; 14(2): 183-97.
กิตติ สถาพรประสาธน์ และ โพธิ์ทอง ปราณีตพลกรัง. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในการอบแห้งข้าวเปลือกด้วยเครื่องอบแห้งแบบเจ็ตสเปาต์เต็ดเบด. วิศวสารลาดกระบัง. 2560; 34(4): 22-9.
ปฏิวัตร วรามิตร, นันทวัฒน์ วีระยุทธ และ อำไพศักดิ์ ทีบุญมา. การเปรียบเทียบแบบจำลองการอบแห้งด้วยลมร้อนระหว่างแบบจำลองเอมพีริคัลและแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2553; 3(1): 60-8.
Pratummasoot N and Mundpookier T. The Study of Thin Layer Drying Model of Chili. Journal of Applied Research on Science and Technology. 2021; 20(2): 137-46.
สุเนตร สืบค้า และ ฤทธิชัย อัศวราชันย์. แบบจำลองทางคณิตศาสตร์การอบแห้งสำหรับวัสดุพรุน. วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย. 2554; 17(1): 59-66.
ประชา บุณยวานิชกุล. การประเมินกระบวนการเตรียมตัวอย่างอ้างอิงสำหรับเครื่องวัดความชื้นข้าวเปลือก. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี). 2556; 5(9): 47-55.