การกำจัดสีย้อมบริลเลียน กรีน ด้วยจีโอพอลิเมอร์จากดินขาวและเถ้าลอย

Main Article Content

สายสมร ลำลอง
นวลใย บัวภา
จักราวุธ คงอ่อน
พรพรรณ พึ่งโพธิ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการสังเคราะห์จีโอพอลิเมอร์จากดินขาวและจากเถ้าลอย จากนั้นใช้จีโอพอลิเมอร์ในการดูดซับสีย้อมบริลเลียน กรีน  จากสารละลายในน้ำ ปริมาณที่เหมาะสมของจีโอพอลิเมอร์จากดินขาวและจากเถ้าลอยคือ 0.25 และ 0.25 กรัมต่อลิตร ส่วนเวลาในการดูดซับ เท่ากับ 360 และ 180 นาที โดยมีประสิทธิภาพการดูดซับ 96.62 และ 96.61% ตามลำดับ ที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของสีย้อมบริลเลียน กรีน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร การศึกษาจลนศาสตร์แสดงให้เห็นว่าการดูดซับของจีโอพอลิเมอร์ทั้งสองสอดคล้องกับปฏิกิริยาอันดับสองเสมือน จีโอพอลิเมอร์จากดินขาวไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ จีโอพอลิเมอร์จากเถ้าลอยสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ 3 ครั้ง แสดงว่าจีโอพอลิเมอร์จากเถ้าลอยมีศักยภาพในการใช้เป็นตัวดูดซับสำหรับการกำจัดสีย้อมบริลเลียน กรีน

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความวิจัย

References

Balendu SG, Sudeshna G, Saurabh P, Aparna T, Riti TK, Rajendra PS, et al. Reusablility of brilliant green dye contaminated wastewater using corncob biochar and Brevibacillus parabrevis: hybrid treatment and kinetic studies. Bioengineered 2020; 11(1): 743-58.

Eletta OAA, Mustapha SI, Ajayi OA and Ahmed AT. Optimization of dye removal from textile wastewater using activated carbon from sawdust. Nigerian journal of technological development 2018; 15(1): 26-32.

คณิตตา ธรรมจริยวงศา. จีโอพอลิเมอร์: วัสดุก่อสร้างเพื่อสิ่งแวดล้อม. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 20 เมษายน 2564] เข้าถึงได้จาก: http://blog.bru.ac.th/wp-content/uploads/bp-attachments/12116/%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C.pdf

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (สื่อออนไลน์). [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 26 เมษายน 2564] เข้าถึงได้จาก: http://maemoh.egat.com/index.php?option=com_content&view=article&id=89&Itemid=494

อภิสิทธิ์ โฆษิตชัยยงค์, สันติ มิตรประเสริฐพร, เอกชัย วิมลมาลา, ธีรศักดิ์ หมากผิน และ ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ. การใช้ประโยชน์จากอนุภาคเถ้าลอย เพื่อทำหน้าที่เป็นสารลดต้นทุน สำหรับผลิตภัณฑ์พอลิเอทิลีนที่ขึ้นรูปด้วยกระบวนการแม่พิมพ์หมุนเหวี่ยง โดยปรับปรุงสภาวะการเตรียมวัสดุผสม. วารสารวิจัยและนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมไทย. 2553; 1(1): 43-53.

Feng J, Zhang R, Gong L, Li Y, Cao W and Cheng X. Development of porous fly ash-based geopolymer with low thermal conductivity. Materials and Design 2015; 65: 529-33.

Vinay KJ and Gautam PB. Synthesis of geopolymer from coal fly ash. Journal of Nepal Chemical Society 2012; 30: 24-8.

Moni SMFK, Ikeora O, Pritzel C, Gortz B and Trettin R. Preparation and properties of fly ash based geopolymer concrete with alkaline waste water obtained from foundry sand regeneration process. Journal of Material Cycles and Waste Management 2020; 22: 1434-43.

Chan JL, Zhang YJ, Chen H, Yang PH, and Meng Q. Development of porous and reusable geopolymer adsorbents for dye wastewater treatment. Journal of cleaner production. 2022; 10: 131278

Maleki A, Mohammad M, Emdadi Z, Asim N, Azizi M and Safaei J. Adsorbent materials based on a geopolymer paste for dye removal from aqueous solutions. Arabian journal of chemistry 2020; 13(1): 3017-25.

Açıslı Ö, Acar İ and Khataee A. Preparation of a surface modified fly ash-based geopolymer for removal of an anionic dye : parameters and adsorption mechanism. Chemosphere. 2022; 295: 133870.

สุพัตรา บุตรเสรีชัย, ฐิติมา นิกรสังขพินิจ, ศิลป์สุภา แก้วเก็ตคำ, อธิป เหลืองไพโรจน์ และ ยุวรัตน์ เงินเย็น. การใช้เถ้าลอยในการบำบัดสีของน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเยื่อกระดาษและกระดาษด้วยกระบวนการดูดซับ. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ 2559, 15 มกราคม 2559, จังหวัดขอนแก่น; 2559.