การกระจายตัวเชิงพื้นที่ของคุณภาพน้ำใต้ดินและหาความสัมพันธ์การใช้ประโยชน์ที่ดินจากการใช้น้ำใต้ดินในพื้นที่จังหวัดชลบุรี

Main Article Content

ณภัทร หลวงเมือง
ตุลวิทย์ สถาปนจารุ
แอน กำภู ณ อยุธยา
สุนทรี ขุนทอง
พงศ์พันธุ์ จันทะคัต

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของคุณภาพน้ำใต้ดินในจังหวัดชลบุรีโดยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และศึกษาแนวโน้มความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำใต้ดินกับการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลตัวอย่างน้ำใต้ดินจากบ่อเก็บจำนวน 182 บ่อ  ผลการศึกษาพบว่าเมื่อเรียงค่าระดับค่าคุณภาพน้ำ Ground Water Quality index (GWQI ) จากอันดับ ที่ 1-5  หรือ (จากระดับดีมากที่สุดจนถึงคุณภาพน้ำแย่มาก ) พบว่าค่า GWQIคุณภาพน้ำที่อยู่ในเกณฑ์คุณภาพดีเยี่ยมอยู่ในอันดับ 1คือมีค่า GWQI ที่น้อยกว่า 50 มีจำนวนทั้งสิ้น 92 บ่อหรือคิดเป็นเปอร์เซ็นต์อยู่ที่ 50.50 เปอร์เซ็นต์ของบ่อเก็บตัวอย่างทั้งหมดและมีการใช้ที่ดินในกลุ่ม U405คือ ถนนมาเป็นอันดับที่1และกลุ่ม U201คือหมู่บ้านบนพื้นราบมาเป็นลำดับที่สอง. ค่า GWQIอยู่ระหว่าง 50-100 ซึ่งอยู่ระดับ 2 คือระดับที่มีคุณภาพน้ำดีคิดเป็นเปอร์เซ็นต์อยู่ที่ 42.85% ของจำนวนบ่อเก็บตัวอย่างทั้งหมดมีการใช้ที่ดินในกลุ่ม A302คือพื้นที่ปลูกยางพารามาเป็นอันดับที่1และพื้นที่ชุมชนบนพื้นราบมาเป็นลำดับที่สองซึ่งค่า GWQI ทั้งสองช่วงอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถนำน้ำใต้ดินไปใช้อุปโภคและบริโภคได้.  จากการศึกษาพบว่า คุณภาพของน้ำใต้ดินส่วนใหญ่อยู่ในช่วงค่าGWQIไม่เกิน100 พบว่าค่าเฉลี่ยของคุณภาพน้ำในจังหวัดชลบุรีอยู่ในเกณฑ์ดี.


คำสำคัญ: การกระจายตัวเชิงพื้นที่ ,คุณภาพน้ำใต้ดิน , ชลบุรี

Article Details

How to Cite
[1]
หลวงเมือง ณ., สถาปนจารุ ต. ., กำภู ณ อยุธยา แ. ., ขุนทอง ส., และ จันทะคัต พ. ., “การกระจายตัวเชิงพื้นที่ของคุณภาพน้ำใต้ดินและหาความสัมพันธ์การใช้ประโยชน์ที่ดินจากการใช้น้ำใต้ดินในพื้นที่จังหวัดชลบุรี”, NKRAFA J SCI TECH, ปี 19, ฉบับที่ 1, น. 43–55, มิ.ย. 2023.
บท
บทความวิจัย

References

กรมโรงงานอุตสาหกรรม | Department of Industrial Workshttps://www.diw.go.th

แผนพัฒนาจังหวัดชลบุรีhttp://www.chonburi.go.th

คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ. 2543. กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำใต้ดินออกตามความ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

Burrough, P.A. 1986. Principles of Geographical Information Sustems for Land Resources Assessment. Clarendon, Oxford.

Water, NM.1988. Expert System and Systems of Experts. Chapter 12 in W.J.Coffey,ed. Geographical Systems and Systems of Geography: Essays in Hornour of William

Burrough, P.A and R.A. McDonnell. 1998. Principles of Geographical Information Systems for Land Resources Assessment. Oxford University Press, Inc.New York.

Chang, KT.2002. Introduction to Geographic Information Systems. McGraw Hill Higher Education, New York.

Napatsawan Noiwong 2010: Spatial Distribution of Pb and Hg in Topsoils at Rayong Province. Master of Science (Environmental Technology and Management), Major Field: Environmental Technology and Management, Department of Environmental Science. Thesis Advisor: Assistant Professor Tunlawit Satapanajaru, Ph.D. 158 pages.

R. M. Brown, N. I. McClelland, R. A. Deininger, and R. G. Tozer, J. Water and Sewage Works 117, 339 (1970).

S. A. Abbasi and D. S. Arya, Environmental Impact Assessment (Discovery Publishing House, New Delhi, 2000).

Shooshtarian, M.R.; Dehghani, M.; Margherita, F.; Gea, O.C.; Mortezazadeh, S. Land use change and conversion effects on ground water quality trends: An integration of land change modeler in GIS and a new Ground Water Quality Index developed by fuzzy multi-criteria group decision-making models. Food Chem. Toxicol. 2018, 114, 204–214. [CrossRef] [PubMed]

Ashiyani, N.; Suryanarayana, T.M.V. Assessment of groundwater quality using GWQI method—A case study of nadiad taluka, Gujarat, India. In Proceedings of the 20th International Conference on Hydraulics, Water Resources and River Engineering, Roorkee, India, 17–19 December 2015.

Rupal, M.; Tanushree, B.; Sukalyan, C. Quality Characterization of Groundwater using Water Quality Index in Surat city, Gujarat, India. Int. Res. J. Environ. Sci. 2012, 1, 14–23.

Arina Khan Haris Hasan Khan Rashid Umar. Impact of land-use on groundwater quality: GIS-based study from an alluvial aquifer in the western Ganges basin. Appl Water Sci (2017) 7:4593–4603 https://doi.org/10.1007/s13201-017-0612-7

Pankaj Kumar , Rajarshi Dasgupta Brian Alan Johnson et.al. Effect of Land Use Changes on Water Quality in an Ephemeral Coastal Plain: Khambhat City, Gujarat, India. Water 2019, 11, 724; doi:10.3390/w11040724. www.mdpi.com/journal/water

มาตรฐานน้ำบาดาลและน้ำแร่เพื่อการบริโภค – กรมทรัพยากรธรณี http://www.dmr.go.th