การประเมินความเสี่ยงทางสิ่งแวดล้อม บริเวณชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี ในช่วงสถานการณ์โควิด-19

Main Article Content

Aimorn Prachuabmorn
รตีวรรณ สุวัฒนมาลา
กฤตกร อินทรฉาย
นันทิวรรธน์ เขตต์วัฒน์
หทัยวรรณ วรโชติธนฐร

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสถานการณ์สิ่งอันตรายจากกิจกรรมบริเวณชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี อันนำไปสู่สภาพความเสี่ยงต่อระบบนิเวศ บริเวณชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี ในสถานการณ์โควิด-19 เก็บข้อมูลด้วยแบบตรวจสอบรายการและ    ทำการประเมินระดับความเสี่ยงแบบใช้ตารางความเสี่ยง ดำเนินการเก็บข้อมูลในเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 นำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยสถิติแบบพรรณนาและจัดลำดับความเสี่ยง      ผลการศึกษาพบว่าระดับความเสี่ยงส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังติดตามตรวจสอบและคงมาตรการที่ดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). สถิติการท่องเที่ยวบางแสน ปี 2562. สืบค้น 24 ธันวาคม 2563. จาก www.mots.go.th.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2565). สถิติการท่องเที่ยวบางแสน ปี 2562. สืบค้น 3 มกราคม 2565. จาก www.mots.go.th.

กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (ม.ป.ป.). รายงานศึกษาขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวทางทะเลและชายหาด Sea Sun Sand (Sea Sun Sand Tourism Economics Competitiveness). สืบค้น 20 กุมภาพันธ์ 2564. จาก https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt/policy/download/article/article_20190625145933.pdf.

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2566). น้ำทะเลเปลี่ยนสี. คลังความรู้ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2566. จาก https://km.dmcr.go.th/c_261/d_19700.

จังหวัดชลบุรี. (2564). ประกาศ/คำสั่งจังหวัดชลบุรี (COVID-19). สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2564. จาก http://www.chonburi.go.th/website/app_form/cate8.

ณัฐกิตทิ์ โตอ่อน. (2562). ผลกระทบของกิจกรรมมนุษย์ต่อสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณชายหาดบางแสน และหาดวอนนภา จังหวัดชลบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 11(21), 86-99.

เทศบาลเมืองแสนสุข. (2565). ข้อมูลพื้นฐานเทศาลเมืองแสนสุข. อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี.

ทิฆัมพร กรรเจียก, สุพัตรา ตะเหลบ และวันชัย วงสุดาวรรณ. (2562). การตรวจติดตามคุณภาพน้ำทะเลชายหาดบางแสน กรณีศึกษา:ปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนเป็นสีชมพู. แก่นเกษตร, 47(ฉบับพิเศษ1), 1175-1180.

ถนอมศักดิ์ บุญภักดี. (2563). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การเฝ้าระวังและบ่งชี้สาเหตุการเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี (Red tide) บริเวณชายหาดบางแสน-วอนนภา ชลบุรี. สืบค้น 1 มีนาคม 2564. จาก http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3951

ทรรศิน ปณิธานะรักษ์, รติมา ครุวรรณเจริญ, สุเมตต์ ปุจฉาการ, สุชา มั่นคงสมบูรณ์,สุรพล ฉลาดคิด, สุพัตรา ตะเหลบ, จิตรา ตีระเมธี และพัชรี ทองอำไพ. (2565). การทบทวนข้อมูลทรัพยากรทางชีวภาพในระบบนิเวศชายฝั่งและชายหาดบริเวณหาดบางแสน-วอนนภา จังหวัดชลบุรี. Science, Technology, and Social Sciences Procedia, 2022; 2022(4): rspg070. สืบค้น 20 ธันวาคม 2565. จาก https://wjst.wu.ac.th/index.php/stssp.

เผชิญโชค จินตเศรณี และอนุกูล บูรณประทีปรัตน์. (2560). การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของขนาดอนุภาคดินตะกอน บริเวณชายหาดบางแสนปี 2557. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 22 (2), 135-144.

มินตรา มารบุญ, เชษฐพงษ์ เมฆสัมพันธ์, ณิศรา ถาวรสโตร์ และจารุมาศ เมฆสัมพันธ์. (2556). การแพร่กระจายของธาตุอาหารในอ่าวไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงาน

กองทุนสนับสนุนการวิจัย. วิภูษิต มัณฑะจิตร และมนัสวงษ์ ฮวดไฉ. (2543). สังคมสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่บนหาดทรายของหาดบางแสนและหาดวอนนภา จังหวัดชลบุรี. วารสารการประมง, 53(3), 248-260.

ศูนย์ปฏิบัติการน้ำอัจฉริยะ สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา กรมชลประทาน. (2564). การวิเคราะห์ปริมาณน้ำฝนและคาดการณ์ปริมาณน้ำหลาก. สืบค้น 15 มกราคม 2565. จาก https://swocrf.rid.go.th.

สุริยา โปร่งน้ำใจ. (2562). การบาดเจ็บจากการสัมผัสแมงกะพรุนพิษในเขตชายหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี : อาการทางคลินิกและมาตรการป้องกัน. วารสารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยบูรพา, 14(1), 142-151.

สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (ม.ป.ป.).รายงานสถานการณ์ด้านทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และการกัดเซาะชายฝั่ง ประจำปี พ.ศ. 2564 จังหวัดชลบุรี.สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13. (2565). กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมภาคตะวันออก ปี 2564. ชลบุรี.

สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (2556). คู่มือการทำกิจกรรมเรียนรู้ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง : ระบบนิเวศหาดทรายเกาะเต่า จังหวัดสุราษฏร์ธานี. เอกสารเผยแพร่สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ฉบับที่ 64. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร.

อโณทัย กิมเสาร์ และพงศ์ศักดิ์ เหล่าดี. (2558). ผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อคุณภาพน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งตำบลเกาะเต่า อำเภอเกาะพงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิจัย มสด สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 8(3), 1-18.

อาวุธ หมั่นหาผล, สุพัตรา ตะเหลบ, วันชัย วงสุดาวรรณ และ ฉลวย มุสิกะ.(2565). ลักษณะของคุณภาพน้ำทะเลกับปริมาณแพลงก์ตอนพืช ในช่วงการเกิดปรากฏการณ์น้ำ ทะเลเปลี่ยนสีบริเวณชายหาดบางแสน ในปี พ.ศ. 2564. KHON KAEN AGRICULTURE JOURNAL SUPPL, 1, 323-329.

อิสระพงษ์ พลธานี, อุมาพร บุญเพชรแก้ว, ฐิติวัลค์ ช่อมะลิ, ณัฐฌา มูลคร, สุดารัตน์ คณิตอิทธิวัฒน์, ศศิพร กลั่นบุศย์ และอาทิตยา ประเสริฐนอก. (2565). การศึกษาผลกระทบจากการท่องเที่ยวทางทะเล ตามองค์ประกอบของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่เกาะล้าน อำเภอ บางละมุง จังหวัดชลบุรี. ศิลปะศาสตร์ปริทัศน์, 16(2), 98-110.

Poushali, C., Dasgupta, R. & Paul, A.K. (2022). Beach beauty in Bengal: Perception of scenery and its implications for coastal management in Purba Medinipur district, eastern India. Marine Policy, 139, 105034. doi : https://doi.org/10.1016/j.marpol.2022.105034.

Lozoya, J.P., Sarda, R., & Jiménez, J.A. (2011). A methodological framework for multi-hazard risk assessment in beaches. Environmental science & policy, 14(6), 685-696.

Mwakumanya, A.M., Munyao, T.M., & Ucakuwun, E.K. (2009). Beach width analyses in beach erosion hazard assessment and management at Bamburi beach, Mombasa, Kenya. Journal of Geography and Regional Planning, 2(12), 299.

Sardá, R., Valls, J.F., Pintó, J., Ariza, E., Lozoya, J.P., Fraguell, R.M., ... & Jimenez, J.A. (2015). Towards a new integrated beach management system: the ecosystem-based management system for beaches. Ocean & Coastal Management, 118, 167-177.

Short, A., & Weir, A. (2018). Beach types, hazards and risk assessment. In The science of beach lifeguarding (pp. 53-65). CRC Press.

World Health Organization. (2012). Rapid risk assessment of acute public health events (No. WHO/HSE/GAR/ARO/2012.1). World Health Organization.