การนำดินร่วนปนดินเหนียวมาใช้ประโยชน์ในการทำอิฐมวลเบาเพื่อส่งเสริมอาชีพในท้องถิ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการนำดินลุ่มแม่น้ำไปใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง โดยการทำอิฐมวลเบาเพื่อหากระบวนการที่เหมาะสมให้มีความเป็นไปได้ทั้งทางด้านวิศวกรรมและสามารถประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้างในท้องถิ่นเพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนได้ การวิจัยนี้นำ ดินร่วนปนดินเหนียวมาเป็นวัสดุผสมในอิฐมวลเบา และใช้วัสดุพลาสติกพีวีซีเหลือใช้มาผสมเพิ่ม เพื่อลดน้ำหนัก ผลการศึกษาพบว่าอิฐมวลเบาในการวิจัยนี้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานบล็อกคอนกรีตเชิงตันไม่รับน้ำหนัก (มอก. 2895-2561) โดยมีอัตราส่วนที่เหมาะสมในการวิจัยนี้คือปูนซีเมนต์ต่อดินร่วนปนดินเหนียวต่อพลาสติกพีวีซีรีไซเคิล (1 : 1.4 : 0.6) โดยน้ำหนัก ผลทดสอบมีค่าความหนาแน่นเท่ากับ 1622 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และมีค่ากำลังอัดเท่ากับ 42 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร การวิจัยนี้สามารถนำดินร่วนปนดินเหนียวมาใช้ทำอิฐมวลเบาได้จริง อีกทั้งยังเป็นแนวทางในการวิจัยครั้งต่อไปเพื่อเพิ่มประสิทธิมากขึ้นเพื่อส่งเสริมอาชีพในท้องถิ่นได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนเท่านั้น
References
นวรัตน์ นิธิสุวรรณรักษา. (2016). ผลของอัตราส่วนพลาสติกพอลิโพรไพลีนในอิฐมวลเบาตอ ค่าความแข็งแรงอัดและสภาพนําความร้อน. วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต, 6(1), 174-187.
ประชุม คำพุฒ. (2559). การพัฒนาผลิตภัณฑ์บล็อกประสานมวลเบาจากเศษพลาสติกอีวีเอเหลือทิ้ง. วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดลอมไทย, 30(3), 57-64.
พุฒิพัทธ์ ราชคา และธีรวัฒน์ สินศิริ. (2559). การศึกษาคุณสมบัติของอิฐดินเหนียวมวลเบาผสมเถ้าลอยและแคลเซียมไฮดรอกไซด์. วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 9(1), 70-82.
สุทัศน์ จันบัวลา และธนากร วาสนาเพียรพงศ์. (2560). การพัฒนาอิฐดินเผามวลเบาโดยใช้ เถ้าชานอ้อยเป็นส่วนผสม. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 10(1), 13-30.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2561). มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม บล็อกคอนกรีตเชิงตันไม่รับน้ำหนัก มอก. 2895-2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. (2562). มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ มอก. 15-2562. กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.
สมบูรณ์ คงสมศักดิ์ศิริ และจํารูญ หฤทัยพันธ์. (2548). การใชเศษโฟมเกาในคอนกรีตบล็อกประดับ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 1(1), 20-25.
Ardeshir, A. and Ahmadi, P.F. (2016). A synopsis about production of brick from lightweight and waste material-A Review. Computations and materials in civil engineering, 1(3), 143-163.
ASTM standard. (2001). Standard specification for concrete aggregates ASTM C33, Philadelphia: ASTM International. 04.02: 10-17.
Nkayem, D.E.N, Mbey, J.A., Diffo, B.B.K. & Njopwouo, D. (2016). Preliminary study on the use of corn cob as pore forming agent in lightweight clay bricks: Physical and mechanical features, Journal of building engineering, 5,254–259.