การเพาะเลี้ยงเมล็ดในหลอดทดลองและการผลิตเมล็ดเทียมจากเอื้องไม้เท้าฤาษีในสภาพปลอดเชื้อ

Main Article Content

จิราภรณ์ นิคมทัศน์
นิศากร สุวรรณ
จรัญ มากน้อย

บทคัดย่อ

เมล็ดกล้วยไม้ถูกนำมาตรวจสอบการมีชีวิตโดยการใช้ 0.8% TTC พบว่าเอมบริโอย้อมติดสีแดงทั้งจำนวนเมล็ดบางส่วนและทุกเมล็ดในระยะเวลา 24 ชั่วโมง เขี่ยเมล็ดลงบนอาหารเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS และ 1/2MS ที่เติมน้ำตาลซูโครสเข้มข้นต่างกัน 3 ระดับ (15, 20 และ 30 กรัมต่อลิตร) เป็นเวลา 8 และ 12 สัปดาห์ พบว่า เมล็ดพัฒนาเป็นโปรโตคอร์มร้อยละ 100 ของเมล็ดในขวดในอาหารทุกสูตร การกำจัดน้ำออกจากเมล็ดเทียม 0-6 ชั่วโมง พบร้อยละปริมาณน้ำที่เหลืออยู่ในเมล็ดเทียมชั่วโมงที่ 6 อยู่ที่ 30.27 ร้อยละการรอดชีวิตอยู่ที่ 85±13.69 จากนั้นนำต้นอ่อนมาเพาะเลี้ยงบนสูตรอาหาร 1/2MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญ BA (0, 0.5, 1, 2 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร) ร่วมกับ NAA (0, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร) เพาะเลี้ยงต้นอ่อนเป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่าสูตรอาหารที่เติม BA ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัมต่อลิตรมีผลทำให้กล้วยไม้แสดงจำนวนยอดต่อต้น จำนวนรากต่อต้นและความสูงต้น เท่ากับ 2.07±0.68 ยอด 0.53±0.72 ราก และ 0.87±0.34 เซนติเมตร ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
นิคมทัศน์ จ., สุวรรณ น. ., & มากน้อย จ. . (2024). การเพาะเลี้ยงเมล็ดในหลอดทดลองและการผลิตเมล็ดเทียมจากเอื้องไม้เท้าฤาษีในสภาพปลอดเชื้อ . วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ (ออนไลน์), 8(2), 89–108. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/scibru/article/view/255865
บท
บทความวิจัย

References

กุลนาถ อบสุวรรณ, & สุนทรี ทารพันธ์. (2559). ผลของสูตรอาหารต่อการเติบโตของต้นกล้วยไม้สกุลหวาย D. Fleischeri และ D. Judy Rutz. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 3(6), 340-348.

ครรชิต ธรรมศิริ. (2550). เทคโนโลยีการผลิตกล้วยไม้ (ปรับปรุงครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง.

จตุพร หงส์ทองคำ, รชยา พรมวงศ์, & สุรชัย รัตนสุข. (2560). การขยายพันธุ์และการเก็บรักษาพันธุ์กล้วยไม้เอื้องกุหลาบกระเป๋าเปิด โดยเทคนิคเมล็ดเทียม. SDU Research Journal, 10(3), 187-201.

จตุพร หงส์ทองคำ, & รชยา พรมวงศ์. (2560). การขยายพันธุ์กล้วยไม้ในหลอดแก้วของกล้วยไม้กะเรกะร่อน (Cymbidium aloifolium (L.) Sw.) กล้วยไม้ป่าใกล้สูญพันธุ์ในกลุ่มป่าชุมชน. วารสารเกษตรพระวรุณ, 14(2), 146-154.

จิรา ณ หนองคาย. (2551). หลักและเทคนิคการขยายพันธุ์พืชในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

จิราภรณ์ นิคมทัศน์, จรัญ มากน้อย, พิชัย ใจกล้า, บัวหลวง ฝ้ายเยื่อ, นิศากร สุวรรณ, วิทยา ภีระ, ธนิกานต์ หลิมเจริญ, ศุภวัฒ ใสแจ่ม, & สุภานัน พุทธา. (2565).

การขยายพันธุ์และการเก็บรักษาพันธุ์กล้วยไม้เสี่ยงสูญพันธุ์บางชนิด ในสวนพฤกษศาสตร์บ้านร่มเกล้า พิษณุโลก ในพระราชดำริ. (รายงานการวิจัย) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

จุฑารัตน์ กรดสัน, ศุทธิณัฎฐ์ สุนทรกลัมพ์, & ปวีณา แก้วอุบล. (2562). ผลของไคโตซานต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการงอกของโพรโทคอร์มกล้วยไม้เอื้องเทียนส้ม (Coelogyne brunnea Lindl. (Orchidaceae)). แก่นเกษตร, 47(1), 141-150.

ชนากานต์ ลักษณะ. (2567). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเศรษฐกิจและพืชสมุนไพร. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา.

ไซนียะ สะมาลา, สิริรัตน์ พรมทอง, ครรชิต ธรรมศิริ, ศศิกานต์ ประสงค์สม, & ฐกฤต อิ่มสมบูรณ์. (2559). การศึกษาสูตรอาหารที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดกล้วยไม้เหลืองจันทรบูร. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์, 3(ฉบับพิเศษ), M02/43-47.

นรารัตน์ วัฒนาพันธ์, วุฒิชัย ศรีช่วย, ล้อมพงศ์ กลิ่นนาวี, & อุปถัมภ์ มีสวัสดิ์. (2562). ผลของสารลดการเกิดสีน้ำตาลต่อการชักนำโพรโตคอร์มไลค์บอดี้โดยใช้เทคนิคชิ้นบางของรองเท้านารีม่วงสงขลา: Paphiopedilum callosum var. sublaeve. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 11(1), 107-116.

นิอร คงประดิษฐ์. (2550). การขยายพันธุ์ในหลอดทดลองและการเก็บรักษาโพรโทคอร์ม โดยเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดเทียมของกล้วยไม้กะเรกะร่อนปากเป็ด (Cymbidium finlaysonianum Lindl.). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพฤกษศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ศุภาวีร์ แสงจันทร์จิรเดช, & จักรพงค์ แท่งทอง. (2015). การเพาะเมล็ดเอื้องดอกมะขาม (Dendrobium delacourii Guillaumin) ในสภาพปลอดเชื้อ. SDU Research Journal, 8(1), 109-118.

อบฉันท์ ไทยทอง. (2548). กล้วยไม้เมืองไทย. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง.

อารักษ์ จันศิลป์, & รัตนา หิรัญพันธุ์. (2549). การเก็บรักษากล้วยไม้ม้าวิ่ง (Doritis pulcherrima Lindl.) ในหลอดทดลอง โดยการเก็บรักษาเมล็ดและวิธีชะลอการเจริญเติบโต. (รายงานการวิจัย)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Bhattacharjee, B., Hossain, M. E., Ayesha, M. N., & Islam, S. M. S. (2023). Morphological diversity analysis of some existing and endangered Dendrobium orchid species in Bangladesh. Journal of Botanical Sciences, 14(2), 146-154. Retrieved from https://www.banglajol.info/index.php/ JBS/article/download/68911/46102.

Chen, N.-D., You, T., Li, J., Bai, L.-T., Hao, J.-W., & Xu, X.-Y. (2016). A comparative study of three tissue-cultured Dendrobium species and their wild correspondences by headspace gas chromatography-mass spectrometry combined with chemometric methods. Journal of Chromatography B, 1022, 73-82.

Gale, S. W., Fay, M. F., & Chase, M. W. (2018). Orchid conservation: How can we meet the challenges in the twenty-first century? Journal of Experimental Botany, 70(22), 6611–6625. https://doi.org/10.1093/jxb/erz334.

Gantait, S., & Sinniah, U. R. (2012). Encapsulation technology for artificial seed production of Phalaenopsis bellina (Rchb.f.) Christenson. Scientia Horticulturae, 139, 47-52.

Hossain, M.M., Kant, R., Van, P.T., Winarto, B., Zeng, S., & Teixeira da Silva, J.A. (2013). The application of biotechnology to orchids. Critical Reviews in Plant Sciences, 32, 69–139.

Hossain, M.M., Sharma, M., Teixeira da Silva, J., & Pathak, P. (2010). Seed germination and tissue culture of Cymbidium giganteum Wall. ex Lindl. Scientia Horticulturae, 123, 479-487.

Kauth, P. J., Dutra, D., Johnson, T. R., Stewart, S. L., Kane, M. E., & Vendrame, W. A. (2006). Techniques and applications of in vitro orchid seed germination. Orchid Biology: Reviews and Perspectives, 9, 375–393.

Kauth, P.J., Dutra, D., Johnson, T.R., Stewart, S.L., Kane, M.E., & Vendrame, W. (2008). Techniques and applications of in vitro orchid seed germination. In J. A. Teixeira da Silva (Ed.), Floriculture, Ornamental and Plant Biotechnology: Advances and Topical Issues (pp. 375-393). Global Science Books.

Kew Gardens. (2022). Exploring the orchid family tree. Retrieved from https://www.kew.org/read-and-watch/orchid-family-tree.

Liau, C. H., You, S. J., Prasad, V., Hsiao, H. H., Lu, J. C., Yang, N. S., & Chan, M. T. (2003). Agrobacterium tumefaciens-mediated transformation of an Oncidium orchid. Plant Cell Reports, 21(10), 993–998.

Miyoshi, K., & Mii, M. (1995). Stimulatory effects of sodium alginate on the conversion of somatic embryos in carrot (Daucus carota L.). Plant Science, 107(2), 219-226.

Saiprasad, G. V. S. (2001). Artificial seeds and their applications. Resonance, 6(5), 39-47.

Takano, T., Oyamada, T., & Hirai, J. (1990). Improvement in nutrient composition of culture media for the growth and multiplication of PLB in Cymbidium. In Proceedings of the Nagoya International Orchid Show (pp. 95-101). Nagoya, Japan.

Teixeira da Silva, J. A., Cardoso, J. C., Dobránszki, J., & Zeng, S. (2015). Dendrobium micropropagation: A review. Plant Cell Reports, 34(5), 671–704.

Tikendra, L., Amom, T., & Nongdam, P. (2018). Effect of phytohormones on rapid in vitro propagation of Dendrobium thyrsiflorum Rchb.f.: An endangered medicinal orchid. Pharmacognosy Magazine, 14(58), 495-500.

Tokuhara, K., & Mii, M. (1993). Micropropagation of Phalaenopsis and Doritaenopsis by culturing shoot tips of flower stalk buds. Plant Cell Reports, 13(1), 7-11. https://doi.org/10.1007/BF00233397.

Utami, E.S.W., & Hariyanto, S. (2019). In vitro seed germination and seedling development of a rare Indonesian native orchid Phalaenopsis amboinensis J.J. Sm. Scientifica, 2019, 8105138.

Vacin, E. F., & Went, F. W. (1949). Some pH changes in nutrient solutions. Botanical Gazette, 110(4), 605–613. https://doi.org/10.1086/335561.

Verleysen, H., Samyn, G., Van Bockstaele, E., & Debergh, P. (2004). Evaluation of analytical techniques to predict viability after cryopreservation. Plant Cell, Tissue and Organ Culture, 77(1), 11-21. https://doi.org/10.1023/B:TICU.0000016468.78464.36.

Wongrasee, N., & Sumontip, B. (2018). A simple and reproducible protocol for plant regeneration and cryopreservation of Grammatophyllum speinocum BL. Songklanakarin Journal of Science and Technology, 40(1), 251-257.

Zhu, G., Li, J., & Zhang, X. (2013). Photosynthetic characteristics of four wild Dendrobium species in China. HortScience, 49(8), 1023-1030.