การบริโภคน้ำพริกของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร (CHILLI PASTE CONSUMPTION AMONG CONSUMERS IN BANGKOK METROPOLITAN)

Authors

  • สิริมนต์ ชายเกตุ ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ
  • ศาลินา วงษ์ไทย ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ
  • อรุษา เชาวนลิขิต ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ
  • อุลิสาณ์ พาชีครีพาพล ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ
  • ชาติรส การะเวก ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ
  • สมชาย สุริยะศิริบุตร ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ

Keywords:

Consumption, Chilli Paste, Consumer, Bangkok

Abstract

บทคัดย่อ

     การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริโภคน้ำพริกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริโภคน้ำพริกของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละและไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 54.2 ผู้บริโภคจะรับประทานน้ำพริก 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 46.0 ผู้บริโภคบริโภคน้ำพริกจากร้านขายกับข้าวริมทางหรือตลาด คิดเป็นร้อยละ 49

     ผลการศึกษาน้ำพริกที่ผู้บริโภคชอบมากที่สุดโดยแบ่งเป็นภาคต่างๆ ตามที่ผู้บริโภคมีภูมิลำเนาอยู่ พบว่า ผู้บริโภคในกรุงเทพฯ ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ ชอบน้ำพริกกะปิ (42%) น้ำพริกตาแดง (29%) น้ำพริกปลาร้าสุก (41%) และน้ำพริกกะปิ (48%) ตามลำดับ ผลการศึกษาผักที่บริโภคกับน้ำพริกพบว่ารับประทานแตงกวา (27.8%) รองลงมาคือ ถั่วฝักยาว (19.0%) และมะเขือเปราะ (18.3%) ตามลำดับ ผลการศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการบริโภคน้ำพริก พบว่า เพศ อาชีพ รายได้ และความชอบผลิตภัณฑ์น้ำพริก มีความสัมพันธ์กับการบริโภคน้ำพริกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.05

 

Abstract



     This study was designed to study chilli paste consumption and factors associated with chilli paste consumption among 400 consumers aged 20 years or more in Bangkok. Data were obtained by using questionnaires. Data were analyzed by using percentage and chi-square test.

     The results showed that almost participants about 54.2% were female. The consumers consumed chilli paste a few times per week (46.0%). Forty nine percent of enrolled participants consumed chilli paste from food shop at way side or market. The most chilli paste preference of participants, based on domicile by birth in central, northern, northeastern and southern region, Numprik Kapi (42%), Numprik Ta Daeng (29%), Numprik Plarasuk (41%) and Numprik Kapi (48%), respectively. The favorite vegetable which was consumed with chilli paste, were cucumber (27.8%), string bean (19%) and eggplant / brinjal (18.3%), respectively. Factors that associated significantly with chilli paste consumption were sex, occupation, income and products preference at p-value<0.05.


Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

สิริมนต์ ชายเกตุ, ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ศาลินา วงษ์ไทย, ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

อรุษา เชาวนลิขิต, ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

อุลิสาณ์ พาชีครีพาพล, ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ชาติรส การะเวก, ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สมชาย สุริยะศิริบุตร, ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ

ฝ่ายสำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Downloads

Published

2015-03-12

How to Cite

ชายเกตุ ส., วงษ์ไทย ศ., เชาวนลิขิต อ., พาชีครีพาพล อ., การะเวก ช., & สุริยะศิริบุตร ส. (2015). การบริโภคน้ำพริกของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร (CHILLI PASTE CONSUMPTION AMONG CONSUMERS IN BANGKOK METROPOLITAN). Srinakharinwirot University Journal of Sciences and Technology, 2(3, January-June), 64–79. retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/swujournal/article/view/31934