การบำบัดไขมันในบ่อดักไขมันโรงอาหารโดยใช้กลุ่มแบคทีเรียคัดสายพันธุ์ TREATMENT OF FAT-OILAND GREASE IN WASTEWATER FROM CANTEEN GREASE TRAPS BY SELECTED BACTERIA

Authors

  • ประชุมพร เลาห์ประเสริฐ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • เจนจิรา แพงจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • เจษฎา ชาญศิริรัตนา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ตันติกร ขุนาพรม ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Keywords:

บ่อดักไขมันโรงอาหาร การลดความหนาของชั้นไขมัน เอนไซม์ไลเปส

Abstract

 

บทคัดย่อ

              วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้คือเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของกลุ่มแบคทีเรียคัดสายพันธุ์ได้แก่ Bacillus subtilis, Staphylococcus epidermidis และ Pseudomonas aeruginosa ในการย่อยสลายไขมันและบำบัดน้ำเสียของโรงอาหารมหาวิทยาลัย เก็บจากน้ำเสียที่บ่อดักไขมันของโรงอาหารมหาวิทยาลัยด้วยวิธี  Grab sampling ทำการทดลองแบบแบทช์ที่อุณหภูมิห้อง ความเร็วรอบในการเขย่า 200 รอบต่อนาที เป็นเวลา 5 วัน  ผลการทดลองพบว่ากลุ่มแบคทีเรียคัดสายพันธุ์สามารถลดค่า BOD5 ได้ร้อยละ 40-65 โดย B. subtilis มีประสิทธิภาพสูงสุดในการลดค่า BOD5 คือลดได้ร้อยละ 62.66 รองลงมาคือ S. epidermidis และ P. aeruginosa ลดได้ร้อยละ 52.31 และ 42.05 ตามลำดับ นอกจากนี้ P. aeruginosa มีประสิทธิภาพสูงสุดในการลดความหนาของชั้นไขมันคือลดได้ร้อยละ 48.98 ซึ่งมีประสิทธิภาพมากกว่า B. subtilis และ S. epidermidis ที่ลดได้ร้อยละ 32.65 และ 26.53 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p < 0.001)

 

 

Abstract

The aim of this research was to evaluate the efficacy of selected bacteria; Bacillus subtilis, Staphylococcus epidermidis and Pseudomonas aeruginosa on fat digestibility and wastewater treatment in a university cafeteria. Oils and fats were collected from the university canteen grease traps. These batch experiments used grab sampling waste water samples. After cultivation in the wastewater at room temperature with a rotational speed of 200 rpm for 5 days, the selected bacteria removed BOD5 to be 40-65 percent. The most BOD5 treatment efficiency was found in B. subtilis to be 62.66 percent removal, following by S. epidermidis and P. aeruginosa to be 52.31 and 42.05 percent, respectively. Nevertheless, the most thickness reduction of the fat layer was found in P. aeruginosa to be 48.98 percent significantly (p < 0.001), following by B. subtilis and S. epidermidis to be 32.65 and 26.53 percent, respectively.

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

ประชุมพร เลาห์ประเสริฐ, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


สำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

เจนจิรา แพงจันทร์, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


สำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

เจษฎา ชาญศิริรัตนา, คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


สำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ตันติกร ขุนาพรม, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


สำนักพิมพ์ สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Downloads

Published

2016-04-07

How to Cite

เลาห์ประเสริฐ ป., แพงจันทร์ เ., ชาญศิริรัตนา เ., & ขุนาพรม ต. (2016). การบำบัดไขมันในบ่อดักไขมันโรงอาหารโดยใช้กลุ่มแบคทีเรียคัดสายพันธุ์ TREATMENT OF FAT-OILAND GREASE IN WASTEWATER FROM CANTEEN GREASE TRAPS BY SELECTED BACTERIA. Srinakharinwirot University Journal of Sciences and Technology, 7(13, January-June), 41–49. retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/swujournal/article/view/54435