อิทธิพลของโอลิโกไคโตซานต่อการกระตุ้นเอนไซม์เปอร์ออกซิเดสในต้นยางพารา (Hevea brasiliensis)

Main Article Content

รัตนา ตำฮอย
พรรณี อัศวตรีรัตนกุล
เกษม อัศวตรีรัตนกุล

Abstract

        การวิจัยนี้มุ่งศึกษาผลของโอลิโกไคโตซานต่อกลไกการป้องกันโรคของต้นยางพารา โดยศึกษาอิทธิพล ของโอลิโก-ไคโตซานต่อระดับเอนไซม์เปอร์ออกซิเดส (POD) ในต้นยางพาราพันธุ์ RRIM600 โดยใช้โอลิโก ไคโตซาน ขนาดโมเลกุล 5,000 (O-5),  45,000 (O-45) และไคโตซานจากกุ้ง (SCS) ที่ความเข้มข้น 10, 50 และ100 ppm ผลการวิจัยพบว่า หลังการกระตุ้นด้วยโอลิโกไคโตซาน 2 สัปดาห์ O-5 ที่ความเข้มข้น 10 ppm สามารถกระตุ้นระดับ  POD ได้สูงสุดเป็น 1.48  เท่าของชุดควบคุม ซึ่งสูงกว่าการกระตุ้นด้วย O-45 และ SCS การตรวจสอบความสูงของ ลำต้นให้ผลที่สอดคล้องกันคือ O-5 สามารถกระตุ้นการเจริญเติบโตได้มากกว่า SCS และ O-45 (3.39, 2.08 และ 1.68 เท่าตามลำดับ) และการกระตุ้นด้วย O-5 สามารถเพิ่มปริมาณเนื้อยางแห้งเป็น 46.60 % สำหรับการศึกษา ความต้านทานต่อเชื้อราไฟท็อปทอร่า อยู่ระหว่างดำเนินการ เพื่อสนับสนุนกลไกการป้องกันโรคด้วย โอลิโกไคโตซานในต้นยางพ

           This study was aimed to evaluate the effect of oligochitosan on rubber tree protection from fungal diseases. The effect of oligochitosan on peroxidase (POD) level was evaluated in rubber tree strain RRIM600. Three types of oligochitosan , O-5(MW. 5,000) O-45(MW. 45,000) SCS (MW. >105) were exposed to young Hevea rubber at concentration 10, 50 and 100 ppm. After 2 weeks treated with oligochitosan, O-5 showed the highest POD activation (1.48 fold compare to control). The plants growth activation were also observed and found that O-5, O-45 and SCS increased the plant height 3.39, 2.08 and 1.68 fold, respectively. The highest dry rubber content was observed in the latex of O-5 treated tree. Further elucidation of fungal resistance might be benefit for application of oligochitosan for fungal control in rubber tree. 

Article Details

Section
Research Articles