การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจกับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทย
Main Article Content
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทยด้วยตัวแบบการถดถอย พร้อมทั้งทำนายการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทย โดยข้อมูลที่ใช้คือการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และปัจจัยทางเศรษฐกิจจำนวน 6 ตัวแปรได้แก่ GDP อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา อัตราเงินเฟ้อ มูลค่าสินค้านำเข้า มูลค่าสินค้าส่งออก และจำนวนผู้ที่อยู่ในวัยทำงาน โดยใช้ข้อมูลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 – 2559 รวมระยะเวลา 26 ปี จากการศึกษาพบว่าปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีความสัมพันธ์ต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทย คือ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ อัตราเงินเฟ้อ และจำนวนผู้ที่อยู่ในวัยแรงงาน โดยสมการพยากรณ์มีค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการถดถอยเท่ากับ 2.97544 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ สัมประสิทธิ์การกำหนดที่ปรับค่าแล้วเท่ากับ 44.83%
Article Details
Section
บทความวิจัย
References
ฐาณิญา โอฆะพนม และฐิติวรรณ ศรีเจริญ. (2559). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างชาติในประเทศไทย, วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร. 11 (2), 75-88.
ดวงรัตน์ ประจักษ์ศิลป์ไทย. (2557). การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment:FDI)ในประเทศไทย. สืบค้นจากhttps://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache: ITcpAkQnrdgJ:library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2557/may2557-2.pdf+&cd =3&hl=th&ct=clnk&gl=th
ศุภศิว์ สุวรรณเกสร. (2556). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของประเทศในอาเซียน ด้วยแบบจำลองการถดถอยเชิงเส้นตรง. ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี, การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่องผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนา (หน้า 1-10). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี.
ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2557). เศรษฐศาสตร์ [Economics] (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สุวิมล ติรกานันท์. (2555). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2550). กำลังแรงงาน. สืบค้นจากhttps://service.nso.go.th/nso/nsopublish/ statplan/social_10.pdf
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2533). สถานภาพแรงงาน จำนวนผู้มีงานทำ จำนวนว่างงาน. สืบค้นจาก https://service.nso.go.th/nso/web/statseries/statseries03.html
อภิรัตน์ จิตต์. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทย. ในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, การประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย มสธ. วิจัย ประจำปี 2554 (หน้า 440-447). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ดวงรัตน์ ประจักษ์ศิลป์ไทย. (2557). การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment:FDI)ในประเทศไทย. สืบค้นจากhttps://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache: ITcpAkQnrdgJ:library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2557/may2557-2.pdf+&cd =3&hl=th&ct=clnk&gl=th
ศุภศิว์ สุวรรณเกสร. (2556). การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของประเทศในอาเซียน ด้วยแบบจำลองการถดถอยเชิงเส้นตรง. ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี, การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่องผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนา (หน้า 1-10). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี.
ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2557). เศรษฐศาสตร์ [Economics] (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
สุวิมล ติรกานันท์. (2555). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2550). กำลังแรงงาน. สืบค้นจากhttps://service.nso.go.th/nso/nsopublish/ statplan/social_10.pdf
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2533). สถานภาพแรงงาน จำนวนผู้มีงานทำ จำนวนว่างงาน. สืบค้นจาก https://service.nso.go.th/nso/web/statseries/statseries03.html
อภิรัตน์ จิตต์. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทย. ในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, การประชุมทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย มสธ. วิจัย ประจำปี 2554 (หน้า 440-447). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช