ประเมินศักยภาพและจุดคุ้มทุนของการติดตั้งระบบเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา กรณีศึกษา: อาคารเฉลิมพระเกียรติ วิทยาลัยเชียงราย

Main Article Content

Satawat Muangchuen

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขนาดกำลังติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ที่เหมาะสมตามขนาดพื้นที่หลังคาของอาคารเฉลิมพระเกียรติ วิทยาลัยเชียงราย และวิเคราะห์ต้นทุนการการติดตั้งระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ติดตั้งบนหลังคาระบบออนกริด เพื่อลดปริมาณนำเข้าไฟฟ้าจากระบบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
ผลการศึกษาพบว่าการเลือกใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 330 วัตต์ จำนวน 360 แผง กำลังการผลิต 118.8 กิโลวัตต์ ต้นทุนในการดำเนินงานติดตั้ง 2,800,000 บาท อัตราซื้อขายไฟฟ้า 2.20 บาทต่อหน่วย ปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้เฉลี่ยต่อปี 172,754 กิโลวัตต์ต่อปี รายได้สุทธิต่อปี 378,159 บาทต่อปี ระยะคืนทุน 7.6 ปี

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

ฤกษ์ฤทธิ์ เคนหาราช, วิเชียร ตันติวิศาล, บุบผา คุณาไท, กรกช ภู่ไพบูลย์, เพทาย ภักดีโชติ, ธัญญารัตน์ ปัทมพงศา, ชิราภรณ์ จตุรวิธวงศ์, ณัฐพัชร บุตรเต, ธเนศร์ ศรีมงคล, ศุทธินี จริงจิตร, ตันติมา จงเฮงสกุล, ศรินธร หอมสุวรรณ, พิมพ์วลัญช์ สุวรรณคีรี, กัลยาณี ประเสริฐศิริสร, นฤมล อินทรักษ์. รายงานสถิติพลังงานของประเทศไทย 2565. สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน.

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579. (2558). กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 7-15.

กันต์ ปานประยูร. (2560). ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา ขนาด 8 กิโลวัตต์และความเป็นไปได้ของการขยายระบบ, วารสารการพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย, 4(1), 76-86. https://so03.tcithaijo.org/index.php/jpr2r/article/view/95533

ชัชชัย วรพัฒน์ และคณะ. (2564). ประเมินศักยภาพและความคุ้มทุนของการติดตั้งระบบเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา กรณีศึกษา: อาคารสำนักงานคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, เทพสตรี I-TECH, 16(2), 117-126. https://itechjournal.tru.ac.th/index.php/tru-i-tech/article/view/145

ณัฐพงศ์ สุวรรณสังข์ และโสภติสุดา ทองโสภิต. (2558). การประเมินศักยภาพเชิงเทคนิคและเศรษฐศาสตร์ของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาอาคารในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารวิจัยพลังงาน, 12(2), 59-74. http://www.eri.chula.ac.th/eri-main/wpcontent/uploads/2016/01/2015_An-Assessment-of-the-Technical-and-Economic-Potential-of-Rooftop-Solar-System-on-Chulalongkorn-University-Buildings.pdf

ศาตตรา ศิริแก้ว, วุฒิศาสตร์ โชคเกื้อ, อนุสรณ์ แสงประจักษ์ และชโลธร สีหาทิพย์. (2562). การประเมินศักยภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์: กรณีศึกษา อาคารสำนักวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 11(21), 179-192. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/swujournal/article/view/200461

ธนาพล ตันติสัตยกุล, พีรพล รัศมีธรรมโชติ และเมฑาพร อุ่ยสกุล. (2560). การประเมินผลประโยชน์ทางพลังงาน สิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์สำหรับระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาอาคารภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 25(6), 1083-1099. https://li01.tcithaijo.org/index.php/tstj/article/view/86502

สุริยนต์ ชมดี. (2558). การประเมินการลงทุนระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาบ้านอยู่อาศัยในภาคเหนือของประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.