การศึกษาคุณสมบัติของชั้นทางผสมดินลูกรัง ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ และตะกรันเหล็ก

Main Article Content

นิโรจน์ เงินพรหม

Abstract

บทคัดย่อ

โครงการนี้เป็นการศึกษาคุณสมบัดิของดินชั้นทางลูกรังบดอัดผสมปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์และตะกรันเหล็ก เพื่อหาปริมาณส่วนผสมสำหรับใช้ปรับปรุงดินชั้นทาง โดยที่ดินลูกรังเป็นส่วนผสมคงที่ 95% โดยน้ำหนัก และมีปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ผสมตะกรันเหล็ก 5% โดยน้ำหนัก ซึ่งแบ่งเป็นอัตราส่วนผสมระหว่างปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ต่อตะกรันเหล็ก เท่ากับ 5% : 0%, 3.5% : 1.5%, 2.5% : 2.5%, 1.5% : 3.5% และ 0% : 5% โดยนํ้าหนักเป็นตัวแปรในการทดสอบ ผลจากการศึกษาพบว่าปริมาณส่วนผสมที่ประกอบด้วยดินลูกรัง 95% ผสมปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์  3.5% และเป็นตะกรันเหล็ก 1.5% เป็นส่วนผสมที่เหมาะที่สุด เมื่อเทียบกับส่วนผสมอื่น ๆ ซื่งมีผลทำให้มีค่า ซี บี อาร์ ที่สูงขึ้น อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของชั้นทางดินซีเมนต์ที่กำหนดโดยกรมทางหลวง

คำสำคัญ : ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์, ดินลูกรัง, ตะกรันเหล็ก, ซี บี อาร์

Abstract

This project was to study the properties of basement soil which used Portland cement, laterite soil and slag as the main ingredients and to investigate its appropriate ration to be used for pavement improvement. By using 95% of laterite by weight and 5% of the mixed Portland cement and slag by weight the amount of Portland cement to that of slag at 5% : 0%, 3.5% : 1.5%, 2.5% : 2.5%, 1.5% : 3.5%, and 0% : 5% by weight were mixed together. Then the derived mixture was put together with the laterite which was the major material. The study showed that the ration at 3.5% of Portland cement and 1.5% slag to the laterite at 95% provided the best basement soil in quality. At this ration, it saved the cement content used as well. At this ration, it gave soil cement higher plasticity. Its CBR is high as well. Moreover, it provided the standard unconfined compressive strength according to that defined by The Department of Highway of Thailand.

Keywords : Portland Cement, Laterite, Slag, CBR

Article Details

How to Cite
[1]
เงินพรหม น., “การศึกษาคุณสมบัติของชั้นทางผสมดินลูกรัง ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ และตะกรันเหล็ก”, RMUTP Research Journal, vol. 4, no. 1, pp. 25–31, Dec. 2012.
Section
บทความวิจัย (Research Articles)