การศึกษาจิตวิทยาสีที่มีผลต่อผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นเลือนราง เพื่อนำมาใช้ในการออกแบบ

Main Article Content

ประชา พิจักขณา
กิ่งกาญจน์ เสมอใจ
ทินวงษ์ รักอิสสระกุล
นพพร สกุลยืนยงสุข

Abstract

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาจิตวิทยาสีที่มีผลต่อผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นเลือนราง เพื่อนำไปใช้ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการออกแบบผลิตภัณฑ์ และเพื่อหาผลสรุปของจิตวิทยาสีที่สามารถใช้กับผู้ที่มีความบกพร่อง ทางการมองเห็น เลือนรางได้ ผลการวิจัยพบว่าสามารถใช้ได้กับ เพศชาย และ เพศหญิงได้ในระดับที่ เท่ากัน จิตวิทยาสีกับความรู้สึกของผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นเลือนรางนั้นพบว่าสีต่าง ๆ ให้ความรู้สึกดังนี้ สีแดงให้ระวังอันตราย และเกิดกำลังวังชา สีเหลือง สนุกสนาน อบอุ่น และสว่าง สิเขียวเหลือง เยือกเย็น สงบ สดใส ร่าเริง และเบิกบาน สีเขียว ปลอดภัย ผ่อนคลาย และกระชุ่มกระชวย สิเขียวน้ำเงิน มั่นคง มั่งมี มั่งคั่ง และ มีอำนาจ สีม่วงน้ำเงิน ตื่นเต้น เร้าใจ มีเสน่ห์ และประณีต สีม่วงแดง สดชื่น รื่นเริง และ มีความสุข สีขาว มีสมาธิ และมีความสุข สีดำ เบื่อหน่าย มีความเร้นลับ ลึกลับ มีความโศกเศร้า และบางครั้งให้ ความรู้สึกเงียบขรึม สีเทา ความรู้สึกแก่'ชรา และเกิดความอ่อนแอ

คำสำคัญ : จิตวิทยาสี; ความบกพร่องทางการมองเห็นเลือนราง

 

Abstract

The purposes of this study were to investigate the influence of color psychology on low vision people for the product design and to conclude color psychology applied for low vision people. It was found that color psychology could apply for male and female at the same level. Based on the findings, red was considered the color of danger and power. Yellow was seen as joy, warmth, and light. Yellow-green symbolized the color of coolness, calmness, tranquil, joy, merriness and delight. Green was safety, relaxation and activeness. Blue-green implied stability, prosperity, wealth and authority. Blue-violet connoted excitement, charm, and neatness. Red- violet was described as freshness, joy, and happiness. White represented concentration and happiness. Black was the color of tediousness, mystery, secret, mournfulness, and sometimes taciturnity. Grey was used as a symbol of old age and weakness.

Keywords : Color Psychology; Low Vision

Article Details

How to Cite
[1]
พิจักขณา ป., เสมอใจ ก., รักอิสสระกุล ท., and สกุลยืนยงสุข น., “การศึกษาจิตวิทยาสีที่มีผลต่อผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นเลือนราง เพื่อนำมาใช้ในการออกแบบ”, RMUTP Research Journal, vol. 3, no. 2, pp. 136–145, Dec. 2012.
Section
บทความวิจัย (Research Articles)