การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตฆ้อง 9 จูม กรณีศึกษา ชุมชนถิ่นฐานทำฆ้องบ้านคอนสาย จังหวัดอุบลราชธานี

Main Article Content

คลอเคลีย วจนะวิชากร

Abstract

The study aims to increase the efficiency of the production process of a 9 Joom Gong. The Flow Process Chart shows the duration and distance of each activity. The gong process has 29 activities and the Why-Why analysis shows the relationship between the problem and all possible causes, Including wastes analysis (7 wastes). We found that there were too many problems with the process. It was too complicated and time consuming to cut the gong. The team used the technique to improve the work (ECRS) to design solutions. It is a process of measuring the circumference of the face plate. It's a step with too much work so we simplified the workflow. We used mathematical formulas to calculate the length of the circle. Then, a standard plate was defined to determine the girth length of each gong, respectively. It was found that the efficiency of work increased by 100%. Part of the process of measuring the size of the steel bar was a complicated way to work. Apply the principle of multiple parts together (Combine). We set the color bar size of each gong size to the standard steel plate size. In order to use it as a guideline to draw the edge of the gong. It reduced our work time by 57.68%. The cutting edge steel plate was a step that used both time and movement to cut too many gong edges. It was improved by using simpler working principle (Simplify). We created the device to help in the work. After modification it reduced the work time by 48.42%. By improving the 3-steps process in the production, waste could be reduced and productivity increased by 41.46%


Keywords


9 Joom Gong; efficiency; waste

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

[1] สมเกียรติ นินถึก, ระบบการผลิตแบบโตโยตา (ความสูญเปลา 7 ประการ), พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2559.
[2] วิจิตร ตัณฑสุทธิ์, วันชัย ริจิรวนิช, จรูญ มหิทธาฟองกุล, และชูเวช ชาญสง่าเวช, การศึกษาการทํางาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
[3] ฮิโตชิ โอกุระวิเชียร เบญจวัฒนาผล และสมชัย อัครทิวา, Why-Why Analysis เทคนิคการวิเคราะห์อย่างแก่นถึงเพื่อปรับปรุงสถานประกอบการ, กรุงเทพฯ: สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2545.
[4] คลอเคลีย วจนะวิชากร, ปานจิต ศรีสวัสดิ์, และวรัญญู ทิพย์โพธิ์. 2559. การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตเพื่อลดความสูญเปล่าและเพิ่มคุณภาพผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา กรณีศึกษา ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาปากห้วยวังนอง อุบลราชธานี. วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ. 9(2).38-46.
[5] คลอเคลีย วจนะวิชากร, เชษฐ์ ศรีไมตรี, และปานจิต ศรีสวัสดิ์. 2559.แนวทางการแก้ปัญหาการผลิตหวดนึ่งข้าวเหนียวอัตโนมัติ กลุ่มจักสานชุมชนบ้านหนองขอน อุบลราชธานี.วารสารวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์ ม.อบ.9(1).48-60.
[6] นุชสรา เกรียงกรฎ. 2556. การศึกษางานอุตสาหกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 3) อุบลราชธานี โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
[7] นิวัฒน์ เดชอำไพ และกาญจนา เศรษฐนันท์. 2557. การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตชุดชั้นในสตรี โดยประยุกต์ใช้แนวคิดการผลิตแบบลีน. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 7(2): 13-27.
[8] สุภาภรณ์ สุวรรณรังสี และเดชา พวงดาวเรือง .2555. การลดความสูญเปล่าของกระบวนการผลิตข้าวกล้องงอก กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรบ้านจำปา จังหวัดสกลนคร. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2555, เพชรบุรี, ประเทศไทย, 17-19 ตุลาคม: 253-260.
[9] ธารชุดา พันธ์นิกุล, ดวงพร สังฆะมณี, และปรีดาภรณ์ งามสง่า. 2557 การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตด้วยเครื่องมือทางวิศวกรรมอุตสาหการ กรณีศึกษา: โรงงานประกอบรถจักรยาน. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2557, สมุทรปราการ, ประเทศไทย, 30-31 ตุลาคม,
[10] จรวยพร แสนทวีสุข, ธน ทองกลม, วิภาดา ศรีหมื่น, และภัทรา สุขประเสริฐ. 2559. การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมอุตสาหการในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต กรณีศึกษา กลุ่มผลิตไม้ตีพริก ชุมชนบ้านคำเจริญสุข. งานประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อบ.วิจัย ครั้งที่ 10, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 7 – 8 กรกฎาคม: 59-72.
[11] ไพศาล ลาภสมบูรณ์ชัย และณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ .2558. การลดความสูญเปล่าในกระบวนการบรรจุหอมหัวใหญ่ โดยเทคนิคการผลิตแบบโตโยต้า: ศึกษาโรงงานถาวรการเกษตร, วารสารสุทธิปริทัศน์, ปีที่ 29 ฉบับที่ 92, ตุลาคม – ธันวาคม 2558: 218 – 235.
[12] ดุษฏี ปัตตัง เจตนา ทองเสก อมรพันธ์ จันทร์ทร และคลอเคลีย วจนะวิชากร. 2557. การลดความสูญเปล่าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานร้านลำดวนอิฐประสาน. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2557, สมุทรปราการ, ประเทศไทย, 30-31 ตุลาคม.
[13] กมลรัตน์ ศรีสังข์สุข และณัฐชา ทวีแสงสกุลไทย. 2553. การลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตสายเคเบิลขนาดเล็กโดยแนวทางลีนซิก ซิกซ์มา. วารสารวิศวกรรมศาสตร์.ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 วิศวกรรมเทคโนโลยีไทย: 1 – 14.