กำลังรับแรงเฉือนในคานคอนกรีตมวลเบาแบบเติมฟองอากาศ

Main Article Content

กิตติธัช หมูทอง
เกรียงศักดิ์ แก้วกุลชัย

บทคัดย่อ

บทความนี้เสนอผลการศึกษากำลังรับแรงเฉือนของคานคอนกรีตมวลเบาแบบเติมฟองอากาศ ที่ความหนาแน่นเปียก 1,800 กิโลกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร ที่มีปริมาณเหล็กเสริมตามยาวในสัดส่วนร้อยละ 0.2 ถึง 1.8 ของพื้นที่หน้าตัด พิจารณาตัวอย่างที่เสริมเฉพาะเหล็กตามยาว และ
ตัวอย่างที่เสริมเหล็กตามยาวและเหล็กปลอก ผลการศึกษาพบว่ากำลังรับแรงเฉือนของคอนกรีตมวลเบาแบบเติมฟองอากาศมีค่าต่ำกว่า
มาตรฐาน ซึ่งเมื่อพิจารณาตัวคูณลดกำลัง () พบว่าค่าของตัวคูณลดกำลังแปรผันตรงกับปริมาณเหล็กเสริมตามยาว และมีค่าน้อยกว่า
มาตรฐาน ตัวอย่างที่เสริมเหล็กปลอกมีค่ากำลังรับแรงเฉือนที่ต่ำกว่าตัวอย่างที่เสริมเฉพาะเหล็กตามยาว เนื่องจากการขาดกลไกในการต้านทานแรงเฉือนร่วมกัน ของคอนกรีตกับเหล็กปลอก ซึ่งกำลังเกิดจากเหล็กปลอกเป็นสำคัญ และกำลังจากคอนกรีตมวลเบาแบบเติมฟองอากาศมีส่วนน้อย จึงเสนอให้ใช้วิธีการคำนวณกำลังรับแรงเฉือนในคานคอนกรีตมวลเบาแบบเติมฟองอากาศที่เสริมเหล็กโดยไม่คำนึงถึงกำลังรับแรงเฉือนของคอนกรีต

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

Kunhanandan Nambiar EK, and Ramamurthy K. Influence of filler type on the properties of foam concrete. Cement & Concrete Composites. 2006;28(5): 475–480.

ชยันต์ เจริญพร, สุเชษฐ์ เอี่ยมเชย. การศึกษาคุณสมบัติของ Cellular Concrete เพื่อใช้เป็นวัสดุมวลเบา (รายงานวิจัยฉบับที่ วพ.172.). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์วิจัยและพัฒนางานทาง กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม; 2542.

Ramamurthy K., Kunhanandan Nambiar EK, Indu

Siva Ranjani G. A classification of studies on properties of foam concrete. Cement & Concrete Composites. 2009;31(6): 388–396.

อิทธิเชษฐ์ อุตะธีรวิชญ์, ธนภร ทวีวุฒิ. คุณสมบัติการใช้งานคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า. ใน: การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 15. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี; 2553.

Laukaitis A, Fiks B. Acoustical properties of aerated autoclaved concrete. Applied Acoustics. 2006;67(3): 284–296.

วิวัฒน์ พัวทัศนานนท์, ธนภร ทวีวุฒิ, เกรียงศักดิ์ แก้วกุลชัย, สถาพร โภคา. อิทธิพลของส่วนผสม วิธีการบ่มและระยะเวลาบ่ม ต่อความลึกคาร์บอเนชั่นของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าในสภาวะแวดล้อมตามธรรมชาติ. ใน: การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 16. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2554.

Othuman MA, Wang YC. Elevated-temperature thermal properties of lightweight foamed concrete. Construction and Building Materials. 2011;25(2): 705-716.

นัฐวุฒิ ทิพย์โยธา, เกรียงศักดิ์ แก้วกุลชัย, สถาพร โภคา, อิทธิพงศ์ พันธ์นิกุล. กำลังรับแรงอัดของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า. ใน: การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 4. อุบลราชธานี: สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย; 2551.

แก้วตา ดียิ่ง, นัฐวุฒิ ทิพย์โยธา, เกรียงศักดิ์ แก้วกุลชัย, ธนภร ทวีวุฒิ. การศึกษากำลังรับแรงดึงของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า. ใน: การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 14. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2552. หน้า 1667-1772.

ธนภร ทวีวุฒิ, เกรียงศักดิ์ แก้วกุลชัย, วิวัฒน์ พัวทัศนานนท์, สถาพร โภคา. กำลังรับแรงดึงแยก และโมดูลัสการแตกร้าวของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า. ใน: การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 14. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2552. หน้า 1673-1778.

นัฐวุฒิ ทิพย์โยธา, เกรียงศักดิ์ แก้วกุลชัย, สถาพร โภคา, วิวัฒน์ พัวทัศนานนท์. แรงยึดเหนี่ยวของเหล็กเสริมในคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า. ใน: การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 14. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี; 2552. หน้า 1685-1690.

นัฐวุฒิ ทิพย์โยธา, อิทธิ์พล รัตนมงคลทิพย์, เกรียงศักดิ์ แก้วกุลชัย. การทดสอบค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่า. ใน: การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 6. เพชรบุรี: สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย; 2553.

นัฐวุฒิ ทิพย์โยธา, เกรียงศักดิ์ แก้วกุลชัย, สถาพร โภคา, วิวัฒน์ พัวทัศนานนท์. การทดสอบกำลังรับโมเมนต์ดัดของคานคอนกรีตมวลเบาแบบเซลลูล่าเสริมเหล็ก. ใน: การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 5. นครราชสีมา: สมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย; 2552.

Jones MR, McCarthy A. Preliminary views on the potential of foamed concrete as a structural material. Magazine of Concrete Research. 2005;57(1): 21–31.

ASCE–ACI Committee 445 on Shear and Torsion. Recent Approaches to Shear and Torsion of Structural Concrete. Journal of Structural Engineering. 1998;124(12): 1375–1417.

MacGregor JG. Reinforced concrete mechanics and design. Englewood Cliffs, N.J: Prentice-Hall; 1992.

ACI Committee 318. Building Code Requirement for Structural Concrete (ACI 318–08) and Commentary. Farmington Hills, MI.: American Concrete Institute; 2008

ASCE–ACI Committee 426 on Shear and Diagonal Tension of the Committee on Masonry and Reinforced Concrete of the Structural Division. The shear Strength for Reinforced Concrete Members. Journal of Structural Division. 1973;99(6): 1091–1187.