การวิเคราะห์หาค่าคุณลักษณะเฉพาะทางอากาศพลศาสตร์ของ อากาศยานไร้คนขับขนาดเล็กแบบไร้หาง โดยใช้อุโมงค์ลมความเร็วต่ำกว่าเสียง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการทดสอบหาค่าคุณลักษณะเฉพาะทางอากาศพลศาสตร์ของอากาศยานไร้คนขับแบบไร้หางด้วยอุโมงค์ลมความเร็วต่ำกว่าเสียงในย่านเลขเรย์โนลด์ -
ทั้งนี้เพื่อนำผลการทดสอบที่ได้มาเปรียบเทียบ และยืนยันผลลัพธ์ที่ได้จากโปรแกรมคำนวณพลศาสตร์ของไหล (Computational Fluid Dynamics) จากผลการทดสอบพบว่าค่าประสิทธิภาพทางอากาศพลศาสตร์สูงสุดของอากาศยานไร้คนขับแบบไร้หางมีค่า ประมาณ 22 ซึ่งถือว่ามีค่าสูงแบบมีนัยสำคัญโดยเป็นกุญแจสำคัญต่อการเพิ่มสมรรถนะของอากาศยานทั้งในด้านระยะทางและเวลาในการบินเดินทาง มากไปกว่านั้นอากาศยานไร้คนขับแบบไร้หางยังคงรักษาเสถียรภาพสถิตในแนวแกนลำตัว เมื่อเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้จากการทดสอบอุโมงค์ลมและการคำนวณเชิงตัวเลขโดยใช้โปรแกรมคำนวณพลศาสตร์ของไหล พบว่าผลลัพธ์สัมประสิทธิ์แรงยกและแรงต้านที่ได้มีความใกล้เคียง สอดคล้องและเป็นแนวโน้มเดียวกัน
Article Details
- เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนายเรืออากาศ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง กองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
- บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนายเรืออากาศถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนายเรืออากาศ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนายเรืออากาศ ก่อนเท่านั้น
References
[2] Karakas, H., Koyuncu, E., & Inalhan, G. (2013). ITU Tailless UAV Design. Journal of Intelligent and Robotic Systems, 69: 131-146.
[3] Jiajan,W. (2016). Aerodynamic Investigations of Low Speed Tailless Mini Unmanned Aerial Vehicle. Journal of Applied Mechanical Engineering, 40: 62-47.
[4] Barlow, Jewel, B., Rae, William, H., &Pope, A. (1999). Low-Speed Wind Tunnel Testing. New York: Wiley & Sons.
[5] Coleman, H.W., & Steele, W.G. (1989). Experimentation and Uncertainty Analysis for Engineers, New York: Wiley & Sons.
[6] Boschetti, P. J., Cárdenas, E. M., & Amerio, A. (2008). Increasing the Lift-Drag Ratio of an Unmanned Aerial Vehicle using Local Twist. Journal of Aircraft, 45(1): 10-15..