แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อการพยากรณ์จำนวนนักท่องเที่ยว ในอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research was to construct model for Mathematical Model for forecasting the number of tourists in Phanom Rung Historical Park Chaloem Phra Kiat District Buriram Province. by using 144 values of garbage gathered from the Phnom Rung Historical Park from October, 2006 to September, 2018. Those were separated into two sets. The first set, 132 values from October, 2006 to September, 2017 were used for Linear Regression, Second-order Polynomial Regression, winter’s Three-Parameter Trend & Seasonality Method and Classical Decomposition Method. Another set, the last 12 values from October, 2017to September, 2018 were used for checking the accuracy of the forecasting models via Mean Absolute Deviation and Mean Absolute Percentage Error. Research findings indicated that for all the forecasting methods, winter’s Three-Parameter Trend & Seasonality Method is the most suitable for this prediction in Phanom Rung Historical Park Chaloem Phra Kiat District Buriram Province. The mathematical model for forecasting solid waste is
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนเท่านั้น
References
กิตตินันท์ ปะระเวสัง. (2560). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจของเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์. สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ธนาวุฒิ ประกอบผล. (2555). ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
วชิรารักษ์ โอรสรัมย์ และวัชระ วงศา. (2562). แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อพยากรณ์ ปริมาณขยะมูล ฝอยในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองบุรีรัมย์. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 3. : 1107-1118.
วรางคณา กีรติวิบูลย์. (2556).ตัวแบบการพยากรณ์จำนวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ที่มาท่องเที่ยวในประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว. 29 (2): 9-26.
ศิริลักษณ์ สุวรรณวงศ์. (2530). เทคนิคการพยากรณ์การวิเคราะห์อนุกรมเวลา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
อัจฉรา จันทร์ฉาย. (2557). เทคนิคการพยากรณ์เพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Chen, W. (2012). Demand forecasting for last buy decisions of spare parts at Océ. Drienerlolaan: University of Twente. Bagheri, A., H. Midi, M.
Ganjali & S. Eftekhari. (2010). A Comparison of Various Influential Points Diagnostic Methods and Robust Regression Approaches: Reanalysis of Interstitial Lang Disease Data. Applied Mathematical Science, 4 (28) : 1367-1386.