ฤทธิ์ทางชีวภาพของไซเดอโรฟอร์ต้านเชื้อราที่ก่อให้เกิดโรคในต้นหอมแดง
Main Article Content
บทคัดย่อ
สารไซเดอโรฟอร์เป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่สกัดได้จากทั้งแบคทีเรีย รา และพืช แล้วนํามาใช้ ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ เช่น การแพทย์ และการเกษตร เป็นต้น การศึกษาในครั้งนี้ได้นําสารไซเดอโรฟอร์ จากแบคทีเรียที่อยู่ในดินภูเขาไฟเขากระโดง มาเลี้ยงในอาหารเหลว SA ซึ่งมีแบคทีเรีย 2 ลักษณะ (สีขาว ขุ่นและสีเหลือง) มาทําการสกัดสารไซเดอโรฟอร์ได้ไซเดอโรฟอร์ 2 กลุ่ม คือ ไซเดอโรฟอร์ชนิด ไฮดรอกซาเมท และไซเดอโรฟอร์ชนิดแคที่คอล ทดสอบการต้านเชื้อราที่ทําให้เกิดโรครากเน่า(Sclerotium cepivorum) โรคใบจุดสีม่วง (Alternaria pari) โรคปลายใบแห้ง (Stemplytium boysum) และ โรคต้นเน่า (Cotectorichum circinons) ที่เกิดขึ้นในต้นหอมแดง พบว่า ไซเดอโรฟอร์ชนิดไฮดรอกซาเมท สามารถต้านการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ทําให้เกิดโรคต้นเน่าและโรครากเน่าได้ดี แต่ไม่สามารถต้านเชื้อรา ที่ทําให้เกิดโรคใบจุดสีม่วงและปลายใบแห้ง ส่วนไซเดอโรฟอร์ชนิดแคที่ดอลสามารถต้าน เชื้อราที่ทําให้ เกิดโรคใบจุดสีม่วงและโรคปลายใบแห้งได้ดี แต่ต้านเชื้อราโรคต้นเน่าได้น้อย
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนเท่านั้น
References
นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ 2548. จุลชีววิทยาทั่วไป กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Ali, S.S. and Vidhale, N.N., 2013. Bacterial Siderophore and Their Application : A review. Int. J.Curr.Microbiol. App.Sci. 2(12). 303-312.
Braun, V. and Braun, M. 2002. Iron transport and signaling in Escherichia coli. FEBS Lett. 529:78-85.
Ferramola, M.I.S., et al., 2013. Microbial pathogens and strategies for combating them: science, technology and education. 1385-1394.
Neilands, J. B. 1995. Siderophores: Structure and Function of Microbial Iron Transport Compounds. The journal of biological chemistry 270(45): 26723-26726.
Matthijs, S. Tehrani, K. A. 2007. Thioquinolobactin, a Pseudomonas siderophore with antifungal and anti-Pythium activity, Environmental Microbiology 9(2): 425-434.
Patitungkho, S. 1998. Isolation, purification and application of siderophore for iron determination. Khon Kaen : Khon Kaen University.
Panomupathum. S, 1996. Isolation and optimization of siderophore producing bacteria. Khon Kaen : Khon Kaen University,