การประยุกต์ใช้ระบบขนส่งรถตู้โดยสารสายประจำจังหวัดบนอุปกรณ์มือถือ

Main Article Content

กฤษฎร สวามีชัย
เศรษฐพงศ์ วงษ์อินทร์

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องการประยุกต์ใช้ระบบขนส่งรถตู้โดยสารสายประจำจังหวัดบนอุปกรณ์มือถือ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการให้บริการนวมทั้งปัญหาของการใช้บริการของรถโดยสารสาธารณะประจำจังหวัดปราจีนบุรี และเพื่อวิเคราะห์และทำการพัฒนาระบบขนส่งรถตู้โดยสารสายประจำจังหวัดบนอุปกรณ์มือถือ โดยกรณีศึกษาในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาระบบขนส่งรถตู้โดยสายสายกรุงเทพฯ - องครักษ์ - ปราจีนบุรี เพื่อนำมาพัฒนาระบบเพื่อใช้งานจริง ขั้นตอนในงานวิจัยนี้ประกอบด้วย การศึกษาปัญหาของระบบงาน จากนั้นทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบในรูปแบบฟังก์ชันการทำงานของระบบขนส่งรถตู้ และพัฒนาประยุกต์ใช้ระบบขนส่งรถตู้โดยสารสายประจำจังหวัดบนอุปกรณ์มือถือตามหลักวงจรชีวิตการพัฒนาระบบงาน ระบบที่พัฒนาขึ้นบนอุปกรณ์มือถือทำการประเมินประสิทธิภาพได้สองแบบ ได้แก่การประเมินประสิทธิภาพของระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ และการประเมินคุณภาพการใช้งานโดยผู้ใช้งาน ผลที่ได้จากการประเมินพบว่า ประสิทธิภาพของระบบที่ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีค่าเฉลี่ย 4.03 และความพึงพอใจด้านการใช้งานประเมินโดยผู้ใช้งานอยู่ในเกณฑ์ ดี มีค่าเฉลี่ย 3.85 ระบบขนส่งรถตู้โดยสารสายประจำจังหวัดนี้สามารถนำไปพัฒนาต่อยอดเป็นระบบการขนส่งรถตู้โดยสารทุกจังหวัดให้เหมาะสมตามความต้องการของแต่ละพื้นที่ และสามารถใช้ได้กับบริการขนส่งที่มีการรับส่งผู้โดยสารในรูปแบบการคมนาคมแบบอื่น ๆ ได้ เช่นรถตู้ รถสองแถว เพื่อให้ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงด้านดิจิทัลที่ผู้ใช้สามารถใช้บริการได้ทุกที่ ทุกเวลา

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการขนส่งทางบก. (2564). รายงานสถิติการขนส่งประจำปี 2563. กรุงเทพฯ.

กรมการขนส่งทางบก กองแผนงานกลุ่มสถิติการขนส่ง. (2563). รายงานสถิติการขนส่งประจำปี 2563. กรุงเทพฯ.

กฤษฎร สวามีชัย. (2564). การพัฒนาต้นแบบระบบขนส่งรถตู้โดยสารสายประจำจังหวัด. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 8. (หน้า945-953).

กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. (2551). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analysis and Design) (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: เคทีพีคอมพ์ แอนด์คอนซัลท์.

ธรรมรัตน์ สืบประยงค์ม จรัญญา ปานเจริญ. (2564). การยอมรับเทคโนโลยีและแรงจูงใจที่มีผลต่อความตั้งใจใช้บริการสั่งอาหารผ่าน Mobile Application ซ้ำของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร ช่วงสถานการณ์ โควิด-19. วารสารสุทธิปริทัศน์, 35(2). 50-62.

นิมิต ตาน้อย, เอกภูมิอิ่มอก และกรรัก พร้อมจะบก. (2559). ระบบจองยานพาหนะออนไลน์ กรณี ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. การประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรม ครั้งที่ 2. (หน้า158-165).

นิศาชล รัตนมณี, ธนินท์รัฐ รัตนพงศ์ภิญโญและ สวรรยา ธรรมอภิพล. (2564). องค์ประกอบการจัดการธุรกิจขนส่งมวลชนอัจฉริยะของภาคเอกชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การศึกษาทฤษฎีฐานราก. 40(1), 66-79.

พร้อมเลิศ หล่อวิจิตร. (2559). คู่มือเขียนแอพ Android ด้วย Android Studio. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.

พิมพ์ชนก บัวแก้ว, อารียา พยุงชัยรัตน์และวลัยนุช สกุลนุ้ย. (2564). ระบบการจองคอร์ทแบดมินตันผ่าน Mobile Application กรณีศึกษาสนามแบดมินตัน สโมสรหมู่บ้านมหาดไทย 1. RattanakosinJournal of Social Sciences and Humanities: RJSH. 1(1), 57-66.

ยุพเรศ พิริยพลพงศ์. (2557). ปัจจัยและพฤติกรรมที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้โมบายแอพพลิเคชั่นซื้อสินค้าผ่านทางสมาร์ทโฟนและแท๊บเล็ตของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร [FACTORS AND CONSUMER BEHAVIORS AFFECTING ON DECISION MAKING TOWARDS BUYING PRODUCTS VIA MOBILE AND TABLET APPLICATION IN BANKOK AREA]. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด).

ศุภชัย สมพานิช. (2562). คู่มือพัฒนาแอพพลิเคชันด้วย Android Studio ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2559). รายงานการวิเคราะห้อมูลการขนส่งและจราจรที่สำรวจในโครงการ. กรุงเทพฯ: สำนัก.

สุชาดา เกิดโพธิ์ชา,ศศิมา ธนภัทร์พิบูลและธีรดนย์ บุญค้ำ. (2562). การพัฒนาระบบบริหารงานร้านซ่อมคอมพิวเตอร์.(ภาคนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต). กรุงเทพฯ: คณะเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยสยาม.

อภิศักดิ์ อาจนันท์. (2557). รู้หรือไม่!! โมบายแอพพลิเคชั่นคืออะไร? และวิธีสังเกตแอพฯ ปลอมทำได้อย่างไร?. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก https://news.siamphone.com/news-17863.html

อัษฎาพร ทรัพย์สมบูรณ์. (2554). การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ (Object-Oriented Analysis And Design). กรุงเทพฯ: เคทีพี.

โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2560). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน.

Lucidchart. (2565, 26 พฤษภาคม). What is a Swimlane Diagram. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจากhttps://www.lucidchart.com/pages/tutorial/swimlane-diagram

OMG. (2565, 27 พฤษภาคม). Unified Modeling Language. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก https://www.omg.org/spec/UML/2.5.1/About-UML/

ThaiCreate Team. (2559, 3 กรกฎาคม). Android กับ SQLite Database การเขียนแอนดรอยด์เพื่อติดต่อกับฐานข้อมูลของ SQLite. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก https://www.thaicreate.com/mobile/android-sqlite-database.html.