ผลของไอระเหยเอทานอลที่สะสมในบรรจุภัณฑ์แอคทีฟต่อการเปลี่ยนแปลง คุณภาพของใบไชยาสด

Main Article Content

sasimon mungmai
วัชรพงษ์ วัฒนกูล
อดุลย์ อภินันท์
วีรเวทย์ อุทโธ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของบรรจุภัณฑ์แอคทีฟต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของใบไชยาสด โดยมีระบบแอคทีฟ คือ ซองควบคุมการปล่อยไอระเหยเอทานอล บรรจุร่วมกับใบไชยาในถุงพลาสติก LDPE เก็บรักษาที่ 10 °C เป็นเวลา 7 วัน เปรียบเทียบกับบรรจุภัณฑ์ซึ่งไม่มีซองควบคุมฯ (บรรจุภัณฑ์พาสซีฟ) เก็บรักษาที่ 10 และ 30 °C ผลการศึกษาพบว่า ไอระเหยเอทานอลถูกปลดปล่อยจากซองควบคุมฯเข้าสู่บรรจุภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง และทำปฏิกิริยากับเนื้อเยื่อของใบไชยาทำให้ชะลอการสูญเสียคลอโรฟิลล์ทั้งหมด ในขณะที่บรรจุภัณฑ์เก็บรักษาที่ 10 °C ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิตามินซีและค่าสี (L* a* และ b*) บรรจุภัณฑ์พาสซีฟที่ 30 °C ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพอย่างรวดเร็ว การวิจัยนี้ทำให้ทราบถึงศักยภาพของบรรจุภัณฑ์แอคทีฟ และการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ เพื่อชะลอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพภายหลังการเก็บเกี่ยวโดยเฉพาะด้านสีเขียวและปริมาณคลอโรฟิลล์ ก่อนนำใบไชยาไปทำการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทอื่นๆ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เจนจิรา พกาวัลย์ ปฐมพงศ์ เพ็ญไชยา พนิดา บุญฤทธิ์ธงไชย วีรเวทย์ อุทโธ สมโภชน์ น้อยจินดา และ เฉลิมชัย วงษ์อารี. (2562). การใช้ไอระเหยเอทานอลในการควบคุมโรคขั้วผลเน่า และโรคแอนแทรคโนสในมะม่วงน้ำดอกไม้เบอร์สี่ในระยะผลสุก. Postharvest Newsletter, ปีที่ 18 ฉบับที่ 1, 1-4.

ชลิญญา สุดา และ จอมสุดา ดวงวงษา. (2563). การใช้ใบห่อทีหล่าทดแทนผงชูรสในการผลิตน้ำปลาร้า ปรุงรสสำเร็จรูปให้ได้ลักษณะทางกายภาพและรสชาติเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2563). หน้า 67 – 76.

นฤมล พิลาคุณ. (2563). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์บรรยากาศดัดแปรแอคทีฟประเภทซองควบคุม การปล่อยไอระเหยเอทานอลสําหรับพริกหวานสด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 112 หน้า.

พัชรี มะลิลา. (2562). การพัฒนาฟิล์มพลาสติกสำหรับการควบคุมการปล่อยไอระเหยเอทานอลด้วยการกระตุ้นโดยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรจุภัณฑ์แอคทีฟสำหรับผลไม้ตัดสด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 176 หน้า.

พัชรี มะลิลา วีรเวทย์ อุทโธ และ ฤทธิรงค์ พฤฑฒิกุล. (2558). การพัฒนาซองควบคุมการปล่อยไอระเหยเอทานอลในบรรจุภัณฑ์แอคทีฟสำหรับหอมแดงสดปอกเปลือก. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. ปีที่ 46 (3/1) (พิเศษ), 223-226.

พัชรี มะลิลา วีรเวทย์ อุทโธ ฤทธิรงค์ พฤฑฒิกุล เรวัติ ชัยราช และกฤตยา อุทโธ. (2562). ผลของชนิดฟิล์มพลาสติกต่อจลนศาสตร์การปล่อยไอระเหยเอทานอล และการประยุกต์ใช้ในบรรจุภัณฑ์แอคทีฟ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562. 146-156.

มานิสา คำวิไล. (2562). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ซุปครีมผักไชยาสำเร็จรูปแช่แข็ง. วิทยานิพนธ์คหกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต, คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. 87 หน้า.

วรรณวิภา ถาพร วีรเวทย อุทโธ และ ฤทธิรงค์ พฤฑฒิกุล. (2561). ผลของการบรรจุภัณฑแอคทีฟโดยการใชซองควบคุมการปลอยไอระเหยเอทานอลที่ทําจากฟิล์มย่อยสลายไดต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพมะละกอสุกผาครึ่งลูก. 2561. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. ปีที่ 49(4) (พิเศษ), 215-218.

วีรเวทย์ อุทโธ. (2562). การบรรจุภัณฑ์บรรยากาศดัดแปรแอคทีฟสำหรับผักและผลไม้สด. พิมพ์ครั้งที่ 2. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 192 หน้า.

วีรเวทย์ อุทโธ, เอกสิทธิ์ อ่อนสอาด และ เรวัติ ชัยราช. (2555). การพัฒนาต้นแบบซองควบคุมการปล่อยไอระเหยเอทานอลสําหรับมะละกอสุกตัดสด. วารสารเกษตรพรจอมเกล้า, ฉบับที่ 30(2), หน้า 39-49.

สังวาลย์ ชมพูจำ. (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์หมั่นโถวเชิงสุขภาพด้วยการเสริมน้ำผักไชยา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม, หน้า 21 -31.

หทัยพร กัมพวงค์. (2563). การพัฒนาซองควบคุมการปล่อยไอระเหยเอทานอลด้วยการกระตุ้นโดยความชื้นเพื่อการบรรจุภัณฑ์แอคทีหสำหรับพริกหวานสด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 112 หน้า.

อังคณา จันทรพลพันธ์ ศิริยากร กุลซื่อ และ สุนิสา หาเพียง. (2562). ผลของวิธีการแปรรูปที่แตกต่างกันต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของกุยช่าย. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 50 ฉบับที่ 2 (พิเศษ), 269-272.

Amaya, N., padulosi, S. and meldrum, G. (2019). Value Chain Analysis of Chaya (Mayan Spinach) in Guatemala. Economic Botany, Vol. 74 Issue 1, p100-114.

Babalola, J. O. and Alabi, O. O. (2015). Effect of processing methods on nutritional composition, phytochemicals, and anti-nutrient properties of chaya leaf (Cnidoscolus aconitifolius). African Journal of Food Science, Vol. 9(12), pp. 560-565.

Choosunga, P., Utto, W., Boonyaritthongchaia, P., Wasusrid, T., and Wongs-Areea, C. (2019). Ethanol vapor releasing sachet reduces decay and improves aroma attributes in mulberry fruit. Food Packaging and Shelf Life. Volume 22, 1-8.

Eissler, S., Diatta, A. D., Heckert, J. and Nordehn, C. (2021). A qualitative assessment of a gender-sensitive agricultural training program in Benin: Findings on program experience and women’s empowerment across key agricultural value chains. International Food Policy Research Institute. 39 pages.

Firouz, M. S., Alimardani, R., Mobli, H. and Mohtasebi. S. S. (2021). Effect of modified atmosphere packaging on the mechanical properties of lettuce during shelf life in cold storage. Information processing in agriculture, Volume 8. Page xxx.

Kongphapa, J., Chupanit, P., S Anutrakulchai, S., Cha’on, U. and Pasuwan, P. (2021). Nutritional and phytochemical properties of Chaya leaves (Cnidoscolus chayamansa Mc Vaugh) planted in Northeastern Thailand. Asia-Pacific Journal of Science and Technology. Vol 27(01), Page 1-10.

Kuti, J. O. and Torres, E. S. (1996). Potential nutritional and health benefits of tree spinach. Journal Janick (Eds). Progress in new crops. ASHS Press Arlington, VA. pp. 516-520.

Laohasilpsomjit, S., John E., B. and Utto, W. (2017). Antimicrobial Activity of Mulberry Leaf Extract on Postharvest Soft Rot Caused by Erwinia carotovora. วารสารการเกษตรราชภัฏ, ปีที่ 16 ฉบับที่ 1, หน้า 1-8.

Namdamrassiri, B., Puangtong, K. and Senphan, T. (2021). Development of low sodium seasoning powder product from chaya leaves. International Virtual Undergraduate Symposium 2021 (NIVUS 2021).

Panghal, A., Onakkaramadom Shaji, A., Kiran Nain, K., Garg, M. K. and Chhikara, N. (2021). Cnidoscolus aconitifolius: Nutritional, phytochemical composition and health benefits – A review. Bioactive Compounds in Health and Disease, 4(11), 260-286.

Ramírez Rodrigues, M. M., Metri Ojeda, J. C., Díaz, M. G., and Baigts Allende, D. K. (2021). Use of Chaya (Cnidoscolous chayamansa) Leaves for Nutritional Compounds Production for Human Consumption. Journal of the Mexican Chemical Society, Vol 65 No 1, Page 118-128.

Suzuki Y., Uji T. and Terai H. (2004). Inhibition of senescence in broccoli florets with ethanol vapor from alcohol powder. Postharvest Biology and Technology, 31(2), 177-182.

Torales, A. C., Gutierrez, D. R., and Rodriguez, S. C. (2020). Influence of passive and active modified atmosphere packaging on yellowing and chlorophyll degrading enzymes activity in fresh-cut rocket leaves. Food Packaging and Shelf Life. 26, 1-8.

Utto, W. (2014). Factors affecting release of ethanol vapour in active modified atmosphere packaging systems for horticultural products. Maejo International Journal of Science and Technology. 8(1), 75-85.

Utto, W., Preutikul, R., Malila, P., Noomhorm, A., and Bronlund, J. E. (2018). Delaying microbial proliferation in freshly peeled shallots by active packaging incorporating ethanol vapour-controlled release sachets and low storage temperature. Food Science and Technology International, 24(2), 132-144.

Utto, W., Pruthtikul, R.,Malila, P., Noomhorm, A., and Bronlund, J. E. (2016). Concentration and temperature dependences of effective ethanol vapor permeability of plastic films utilized in controlled release-based active packaging for horticultural products. Key Engineering Materials, Volume 718(1), 45-48.

Yang, X., Zhang, Z., Joyce, D., Huang, X., Xuc, L., and Pang, X. (2009). Characterization of chlorophyll degradation in banana and plantain during ripening at high temperature. Food Chemistry, Volume 114(2), 383–390.