การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาแก้ไอมะขามป้อมและยาอมมะแว้งกับ ยาเม็ดเดกซ์โทรเมทอร์แฟนในการรักษาอาการไอในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยาอีนาลาพริลของผู้มารับบริการ โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก จังหวัดอุตรดิตถ์

Main Article Content

ชมพากาญจน์ ทองสี
ศุภะลักษณ์ ฟักคำ
ดวงพร นะคาพันธุ์ชัย

บทคัดย่อ

การวิจัยเปรียบเทียบสาเหตุ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาการเปรียบเทียบผลการใช้ยาแก้ไอมะขามป้อมและยาอมมะแว้งกับยาเดกซ์โทรเมทอร์แฟนต่ออาการไอในผู้ป่วยได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยาอีนาลาพริลของผู้มารับบริการโรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 63 คน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองยาอมมะแว้งมีค่าเฉลี่ยสูงกว่ายาแก้ไอมะขามป้อม และยาเดกซ์โทรเมทอร์แฟน ผลการเปรียบเทียบประสิทธิผลของยาแก้ไอมะขามป้อม และยาอมมะแว้งกับยาเม็ดเดกซ์โทรเมทอร์แฟนในการรักษาอาการไอในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยาอีนาลาพริล ในด้านกายภาพ จิตใจและสังคม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p – value = 0.01 ส่งผลให้การศึกษานี้เป็นเรื่องที่ดีต่อการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพื่อทดแทนยาแผนปัจจุบันให้มีการใช้เพิ่มมากขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกพร ระนาดแก้ว, สมบูรณ์ เจตลีลา, อัจฉรา แก้วน้อย, ศุภรัตน์ ดวนใหญ่ และกัญจนภรณ์ ธงทอง. (2565). บทบาทของมอลโทรเดกซ์ตรินและสารช่วยตอกตรงในการพัฒนาตํารับยาเม็ดอมแก้ไอประสะมะแว้งซึ่งมีและไม่มีเกล็ดสะระแหน่ II: การเลือกตํารับที่เหมาะสมเมื่อแต่งรสต่างกัน 3 รส. วารสารศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม, 2(1), 84-98.

กองเภสัชกรรม สำนักอนามัย. (2562). ยาแก้ไอมะขามป้อมและยาอมมะแว้ง. สืบค้น 18 มกราคม 2566, จาก http://www.pharmbma.com/drug-list/m/318-ma-waeng-lozenges.

กลุ่มงานเภสัชกรรมและกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข. (2562). ฉลากเสริมยา อีนาลาพริล. สืบค้น 15 มกราคม 2566, จาก https://fdakorat.files.wordpress.com.

การประชุมวิชาการร้านยาแห่งประเทศไทยครั้งที่ 1. (2563). ความดันโลหิตสูงสิ่งที่น่ารู้และต้องรู้. กรุงเทพฯ: สมาร์ทดิสเนซารี จำกัด.

ขนานฟ้า ฤทธิ์จรูญ. (2563). ความน่าเชื่อถือของแบบสอบถาม Leicester cough questionnaire ฉบับภาษาไทยในการประเมินการไอเฉียบพลัน. สืบค้น 18 มกราคม 2566, จาก https://app.gs.kku.ac.th/images/img/support/grc2020/pdfpresent//MMP7.pdf.

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2553). Dextromethorphan. สืบค้น 17 มกราคม 2566, จาก https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/5/ยาแก้ไอ-เดกซ์โทรเมทอร์แฟน-dextromethorphan.

ชวัลวลัย เมฆสวัสดิชัย. (2562). การประเมินผลนโยบายส่งเสริมการใช้ยาจากสมุนไพรของสถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในจังหวัดสระบุรี ปีงบประมาณ 2560. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 17(3), 516-526.

ธนพนธ์ กีเวียน. (2561). การเปรียบเทียบผลการใช้ตำรับยาแก้ไอฝางและยาแก้ไอน้ำดำต่ออาการไอในผู้ป่วยติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน. สืบค้น 17 มกราคม 2566, จาก https://thaicam.go.th/wp-content/uploads/2019/06/9-3.pdf.

บุษบา จินดาวิจักษณ์ม. (2560). ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงใช้อย่างไร. วารสารเภสัชกรรม โรงพยาบาล, 6(3), 10-11.

ปารยะ อาศนะเสน. (2554). อาการไอ. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.rcot.org/datafile/_file.

ผกากรอง ชวัญข้าว. (2558). การใช้ยาจากสมุนไพร ทดแทนยาแผนปัจจุบัน. ศูนย์หลักฐานเชิงประจักษ์ด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร.

พิชานันท์ ลีแก้ว. (2561). สมุนไพรแก้ไอมะขามป้อม. สืบค้น 18 มกราคม 2566, จาก https://www.thailandplus.tv/archives/132661.

เยาวลักษณ์ หอมวิเศษวงศา. (2557). ประสิทธิผลยาอมสมุนไพรมะขามป้อมในการลดอาการเจ็บคอเสียงแหบหลังการใส่ท่อช่วยหายใจเพือวางยาสลบ. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 23(1), 75-82.

ระพินทร์ โพธิ์ศรี.(2553). สถิติเพื่อการวิจัย. อุตรดิตถ์: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. โรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก. (2565). รายงานข้อมูลผู้รับบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลค่ายพิชัยดาบหัก. อุตรดิตถ์: มณฑลทหารบกที่ 35.

วีณา นุกูลการ. (2557). การศึกษาสารสำคัญที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชพื้นเมืองภาคอีสานของประเทศไทย. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศรินทร์รัตน์ จิตจำ, สิริรัตน์ เลาหประภานนท์, วสันต์ หะยียะห์ยา, และณัฐ ขนิษฐา. (2562). การศึกษาตำรับยาสมุนไพรของหมอพื้นบ้านในการรักษาโรคหืด.

นครศรีธรรมราช: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2558). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2555 ปรับปรุง พ.ศ.2558. สืบค้น 17 มกราคม 2566, จาก http://www.thaihypertension.org.

อำพล บุญเพียร. (2561). ประสิทธิผลของการนวดด้วยน้ำมันไพร และน้ำมันปาล์มต่ออาการปวดกล้ามเนื้อ คอ บ่า ไหล่ ในนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข กาญจนาภิเษก. นนทบุรี: วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณะสุข.

Asanasen, P. (2011). Cough symptoms. Department of Otolaryngology, Faculty of Medicine Siriraj Hospital. Mahidol University. Retrieved 1 November 2021, from https://www.rcot.org/datafile/_file/.

Chawankhao, P. (2015). Use of herbal medicine substitute for modern medicine. Center for Empirical Evidence in Thai Traditional Medicine and Herbs Chao Phraya Abhaibhubejhr Hospital.

Homwisetwongsa, Y. (2014). Effectiveness of tamarind herbal lozenge in reducing symptoms sore throat, hoarse voice after intubation for anesthesia. Journal of Public Health, 23(1), 75-82.

Hypertension Association of Thailand. (2015). Guidelines for the treatment of hypertension in general practice, 2012, updated 2015. Retrieved 16 October 2021, Retrieved from http://www.thaihypertension.org

Jindawijak, B. (2017). How to use medicine to treat high blood pressure. Hospital Pharmacy Journal, 6(3), 10-11.

Kiewian, T. (2018). A Comparsion the results of Formularies Fang syrup and Brown mixture the cough in Upper Respiratory tract Infection patients. Retrieved 17 January 2023. from https://thaicam.go.th/wp-content/uploads/2019/06/9-3.pdf.

Meksawatdichai, C. (2019). Evaluation of health care facilities' policies to promote the use of herbal medicines. Under the Ministry of Public Health in Saraburi Province, fiscal year 2017. Journal of Thai Traditional Medicine and alternative medicine, 17(3), 516-526.

Nukulkarn, V. (2014). Study of important biologically active substances from native plants in the Northeast of Thailand. Nakhon Pathom: Mahidol University.

Pharmaceutical Working Group and Consumer Protection and Public Health Pharmacy Working Group. (2019). Enalapril supplement label. Retrieved 15 January 2023, from https://fdakorat.files.wordpress.com/.

Pharmacy Division, Department of Health. (2019). Makhampom cough syrup and Mawaeng lozenge. Retrieved 18 January 2023, Retrieved from http://www.pharmbma.com/drug-list/m/318-ma-waeng-lozenges

Ranadkaew, K., Jateleela, S., Kaewnoi, A., Duanyai, S., & Tongthong, K. (2020). Roles of Maltrodextrinand Direct Compression Fillers in Formulation Development of Prasamawaeng Cough Tablets with and without Menthol II: Selection of Appropriate Formulations with Three Various Tastes. Journal of Public Health and Innovation. 2(1), 84-98.

Ritjaroon, K. (2020). Reliability of the Leicester cough questionnaire. Thai version for evaluating acute cough. Retrieved 18 January 2023, from https://app.gs.kku.ac.th/images/img/support/grc2020/pdfpresent//MMP7.pdf.

Thailand Pharmacy Academic Conference No. 1 (2020). High blood pressure, things to know and must know. Bangkok: Smart Disaster Co., Ltd.