ผลทางด้านจุลินทรีย์และกายภาพของขนมปังที่ห่อด้วย ผ้าเคลือบไขผึ้งห่ออาหาร
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผ้าเคลือบไขผึ้งห่ออาหารได้รับความนิยมเนื่องจากทำมาจากวัสดุธรรมชาติ ถือเป็นทางเลือกที่ยั่งยืนในการใช้ทดแทนถุงพลาสติกและพลาสติกห่ออาหาร สามารถช่วยป้องกันการเน่าเสียและลดการเกิดเชื้อก่อโรคในอาหารได้ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของผ้าฝ้ายเคลือบไขผึ้งทั้งทางด้านจุลินทรีย์ และทางกายภาพในการห่อขนมปัง โดยได้วิเคราะห์และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ผ้าเคลือบไขผึ้ง จำนวน 3 สูตร เป็นระยะเวลา 14 วัน จากผลการทดลองพบว่า ผลิตภัณฑ์ผ้าเคลือบไขผึ้ง สูตรที่ 3 ซึ่งมีส่วนประกอบของไขผึ้ง 70 กรัม ยางสน 20กรัม และน้ำมันมะพร้าว 10 กรัม มีประสิทธิภาพในการป้องกันการเจริญเติบโตของแบคทีเรียได้ สามารถลดการสูญเสียน้ำหนักของขนมปัง อีกทั้งยังไม่พบการเจริญของเชื้อราบน ขนมปัง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนเท่านั้น
References
ชินวัฒน์ ทองชัช. (2567).การใช้ฟิล์มยืดห่อหุ้มอาหารให้ปลอดภัย. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก
http://lib3.dss.go.th/fulltext/dss_j/2560_65_204_p27-28.pdf.
ปรียา วิบูลเศรษฐ์. (2540). การเน่าเสียของอาหาร. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร,
, 74-91.
ทวิพร ขจรเกียรติอาชา. (2566). ปัญหาทางกฏหมายเกี่ยวกับการจัดการขยะพลาสติกแบบใช้ครั้ง
เดียวทิ้งจากร้านอาหารที่ใช้บริการส่งอาหาร.
(วิทยานิพนธ์ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีปทุม).
บุญชนิต ว่องประพิณกุล และ สุจิตรา วาสนาดำรงดี. (2564). ขยะพลาสติกจากการสั่งอาหาร
ออนไลน์. วารสารสิ่งแวดล้อม, 1, 1-10.
สุทธิษา ก้อนเรือง, การะเกด แก้วใหญ่, ธวัฒน์ชัย เทพนวล และ มาริสา เชษฐวรรณสิทธิ์. (2563).
การผลิตพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพจากเส้นใยต้นสาคู. วารสารมหาวิทยาลัย
ทักษิณ, 2, 65-73.
Crystal, T., Jarosław, A., & Francis, N. (2017). The anti-microbial effect of food wrap
containg beeswax products. Journal of microbiology biotechnology and
food science, 7(3), 145-8.
Goldilocks-USA. (n.d.). (2021). Goldilocks beeswax wraps : The eco-friendly
alternative to plastic. [Web Blog]. Available from https://goldilocksgoods.com.
Grecia, VV., & Gustavo, G. (2021). Antibacterial effect of coconut oil (Cocus
nucifera) on Streptococcus mutans ATCC 25175: An in vitro study.
International journal of odontostomat, 15(4), 922-27.
Heather, C. (2014). Beeswax wraps with a vegan option and a free beeswax baggie
pattern [Web Blog]. Available from https://yumuniverse.com.
Justyna, S., Waldemar, M., Stanisława, K., Anita, J., Tomasz, R., Aleksandra, S., &
Beata, G. (2020). Beeswax-modified textiles: method of preparation and
assessment of antimicrobial properties. Polymers, 12(344), 1-15.
Mohamad, N., Zurainie, A., Anil, A., Intan, A., & Wan, N. (2018). Virgin coconut oil
and Its antimicrobial properties against pathogenic microorganisms: A review. Advances in health science research, 8, 192-9.
Peter, L., Daniela, D., Oded, L., & Nuno, P. (2020). Understanding how
microorganisms respond to acid pH is central to their control and
successful exploitation. Frontiers in microbiology, 11, 1-8.
Sezgin, Y., Ozgul, M., & Alptekin, N. (2019). Efficacy of oil pulling therapy with
coconut oil on four-day supragingival plaque growth: A randomized
crossover clinical trial. Complement therapies in medicine, 47, 1-4.
Zhuozhuo, Z., Xinhua, Z., Fanrong, K., & Wenchuan, G., (2019). Quantitatively
determining the total bacterial count of raw goat milk using dielectric
spectra. Journal of dairy Science, 102, 7895–7903.