การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีความจริงเสริมร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเที่ยวในตำบลปากน้ำปราณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

Main Article Content

เพียงฤทัย หนูสวัสดิ์
พัชลดา เนตรสอน
เมลดา ฮวบอินทร์
อัชฌาพร กว้างสวาสดิ์
อังคณา จัตตามาศ

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อเทคโนโลยี ความจริงเสริมร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเที่ยวในตำบลปากน้ำปราณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเพื่อประเมินความพึงพอใจ    ของนักท่องเที่ยวที่มีต่อสื่อ เครื่องมือที่ใช้งานวิจัยประกอบด้วย 1) สื่อเทคโนโลยีความจริงเสริม                            2) แบบประเมินความพึงพอใจ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือนักท่องเที่ยว จำนวน 385 คน โดยใช้วิธีการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบขนาดของประชากร วัดค่าสถิติจากค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สื่อเทคโนโลยีความจริงเสริมร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเที่ยวในตำบลปากน้ำปราณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในรูปแบบของแอปพลิชันส่งผลดีต่อนักท่องเที่ยว                 และผู้ประกอบการในชุมชน โดยผลการประเมิน พบว่านักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจต่อสื่อดังกล่าวอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ (  = 4.66, S.D. = 0.53)

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ แก้วเกาะสะบ้า และ ถนอม ห่อวงศ์สกุล. (2562). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในพื้นที่อ่าวบ้านดอนจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 6(1), 213-230. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/srj/article/download/187977/131962/549667

ชาญชัย ศุภอรรถกร และ ศุภรักษ์ หอมเงิน. (2565). การพัฒนาแอปพลิเคชันเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววัดสระกำแพงใหญ่ จังหวัดศรีสะเกษ. Journal of Information and Learning, 33(2), 57-69. https://doi.org/10.14456/jil.2022.18

ฐิณาภัณฑ์ นิธิยุวิทย์ และ ยุภา คำตะพล. (2562). แอปพลิเคชันการส่งเสริมการท่องเที่ยว 6 ของที่ระลึกต้องซื้อในจังหวัดเพชรบูรณ์ ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง. วารสารวิชาการ “การจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม”, 6(1), 179-189. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/itm-journal/article/download/162296/139234/606755

ทนงศักดิ์ แสงสว่างวัฒนะ, ณิชนันทน์ ศิริไสยาสน์ และ โชติ บดีรัฐ. (2563). "New Normal" วิถีชีวิตใหม่และการปรับตัวของคนไทยหลังโควิด-19: การงาน การเรียน และธุรกิจ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 4(3), 371-386. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLGISRRU/article/view/243943/168107

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน.กรุงเทพฯ : เพรส แอน ดีไซน์ จำกัด.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และ เพ็ญศิริศรีคำภา. (2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ:ธรรมสาร.

พจน์ศิรินทร์ ลิมปินันทน์. (2562). การส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดมหาสารคามโดยใช้เทคโนโลยีเสมือนจริง. วารสารวิชาการ “การจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม”, 6(1), 8-16. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/itm-journal/article/download/199288/139043/

พีดีแอลโฮเทล. (2565). ปากน้ำปราณ. https://www.huahinpran.com/article45140-paknampran- information.html%20%5b3

วศิน ทองมี, นรวิชญ์ โต๊ะเจริญ และ เพียงฤทัย หนูสวัสดิ์. (2562). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติกุยบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 4 และ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ครั้งที่ 1 (The 4th National RMUTR Conference and The 1st International RMUTR Conference): มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

สุนิ ประจิตร, วีรศักดิ์ จงเลขา, ปราโมทย์ บุญยิ่ง, สมเกียรติ สนธิวัฒน์ตระกูล และ สุภัทรา เหมือนจันเชย (2565). การพัฒนาสื่อเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่บึงพลาญชัย จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 5(2), 13-21. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/bim/article/view/258085

สำนักงานสถิติจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. (2561). รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การจัดทำข้อมูลเชิงพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. https://shorturl.asia/zxhSW

อังคณา จัตตามาศ และ อัชฌาพร กว้างสวาสดิ์. (2561). การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อใช้ค้นหาเส้นทางที่เหมาะสมสำหรับแหล่งท่องเที่ยวชุมชนในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37(3), 431-438. https://scjmsu.msu.ac.th/pdfsplit.php?p=MTU5ODg0NDIyOS5wZGZ8MTIxLTEyOA==

อังคณา จัตตามาศ และ อัชฌาพร กว้างสวาสดิ์. (2565). การส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยนวัตกรรมภูมิสารสนเทศสำหรับบริการข้อมูลสารสนเทศชุมชนของอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารวิจัยราชภัฏเชียงใหม่, 23(1), 54-75. https://doi.org/10.14456/rcmrj.2022.248925

อังคณา จัตตามาศ, ภัทราวดี เชยสวัสดิ์, ชนัตดา เสือใหญ่, สุธาสินี กลิ่นหอม และ อัชฌาพร กว้างสวาสดิ์ (2566). การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนันทนาการหลังสถานการณ์โควิด-19 ในพื้นที่อำเภอหัวหิน ด้วยการใช้เทคโนโลยีความจริงเสริมร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์. วารสารวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 2(1), 16-36. https://doi.org/10.14456/ksti.2023.2

Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques (3rd ed.). New York: John Wiley & Sons.

Nusawat, P., Kwangsawad, A., & Saikatikorn, N. (2019). Cultural tourism web service via augmented reality for public relations in prachuapkhirikhan province. In 2019 4th Technology Innovation Management and Engineering Science International Conference (TIMES-iCON) (pp. 1-5). IEEE. https://doi.org/10.1109/TIMES-iCON47539.2019.9024571