การจัดศูนย์การเรียนรู้สิ่งทอและแฟชั่นบนพื้นฐานวัฒนธรรมชุมชน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

Main Article Content

ดวงสุดา เตโชติรส

Abstract

บทคัดย่อ

การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมของชุมชนเกิดจิตสำนึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมนั้นต้องศึกษาจากวิถีชีวิตความสัมพันธ์ในมิติต่างๆ ของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมของชุมชนทุกด้าน ทั้งในแผนโครงสร้างทางสังคม องค์ความรู้ รูปแบบวิธีคิด และการถ่ายทอดความรู้ของชุมชน ดังนั้นศูนย์การเรียนรู้สิ่งทอและแฟชั่นจึงได้จัดตั้งขึ้นเพื่อตอบสนองผลสัมฤทธิ์ในแง่ของ “ความเป็นแรงบันดาลใจ” ซึ่งแนวคิดหลักในการสร้างกรอบแผนงานที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง พัฒนากระบวนการเรียนรู้ทางสังคม กระแสนิยม ความสนใจส่วนบุคคล ส่งผลให้เกิดการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ช่วยสร้างแรงกระตุ้นเพื่อเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้กับบุคคลทั่วไปได้เข้าถึงแหล่งความรู้แบบมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการศึกษา และเรียนรู้ บนพื้นฐานของวัฒนธรรม

 

Abstract

Management of education that corresponds with community culture and creates awareness in cultural conservation must base on the study of human lifestyle and various dimensions of relationship between human and community environment; namely, social structure plan, body of knowledge, mindset, and method of knowledge transfer in the community. Thus, the Textile and Fashion Knowledge Center was established to create achievement as “an inspiration theme”. The core concepts of the framework was to be a self-learning center that developed social learning processes and created bandwagon effect that encouraged personal interest. It would create learning society, increase motivation that encourages people to access knowledge source, participate in educational process, and learn on cultural basis.

Article Details

How to Cite
[1]
เตโชติรส ด., “การจัดศูนย์การเรียนรู้สิ่งทอและแฟชั่นบนพื้นฐานวัฒนธรรมชุมชน คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร”, RMUTP Sci J, vol. 7, no. 1, pp. 1–8, Mar. 2014.
Section
บทความพิเศษ (Special Article)