โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการสร้างและใช้งานบ่อหมักแก๊สชีวภาพสำหรับครัวเรือน ในชุมชนบ้านท่าทองแดง จ.ตาก
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการสร้างและใช้งานบ่อหมักแก๊สชีวภาพสำหรับครัวเรือน ให้มีความรู้ความสามารถในการสร้างและประยุกต์ใช้งานบ่อหมักแก๊สชีวภาพจากมูลโคและสุกรเพื่อนำแก๊สที่ได้ไปใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทนแก๊ส LPG สำหรับหุงต้มและประกอบอาหารในครัวเรือน โดยแบ่งการดำเนินงานออกเป็น 3 ช่วงคือ ช่วงที่ 1 การเตรียมการและชี้แจงทำความเข้าใจ ช่วงที่ 2 การดำเนินการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และ ช่วงที่ 3 การติดตาม และประเมินผลสำเร็จของโครงการ โดยมีผู้เข้าร่วมฝึกอบรม จำนวน 30 คน ได้ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 10 ครัวเรือน จากการประเมินผลการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใช้แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ พบว่า การประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจอยู่ในเกณฑ์สูงสุด (ค่าเฉลี่ยรวม 4.42, SD 0.84) รองลงมา คือ ด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร (ค่าเฉลี่ยรวม 4.36, SD 0.75) และการประเมินผลข้อมูลด้านการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อยู่ในเกณฑ์ต่ำสุด (ค่าเฉลี่ยรวม 4.28, SD 0.77) ส่วนการประเมินผลสำเร็จของโครงการ พบว่า บ่อหมักแก๊สที่ทำการติดตั้งสามารถผลิตแก๊สชีวภาพได้ทุกบ่อและนำไปใช้ทดแทนแก๊ส LPG ได้โดยเฉลี่ย 1.8 – 2 ชั่วโมง/วัน/ครัวเรือน คิดเป็น 180 – 200 บาท/เดือน/ครัวเรือน มีต้นทุนในการสร้างบ่อหมัก 3,000 บาท/บ่อ และมีระยะเวลาคืนทุน 1.38 ปี
Abstract
This research aimed to transfer technology of biogas digester construction for applying the biogas in household. The villagers were instructed and trained about biogas digester construction for applying the biogas produced from cow and pig manure. The produced biogas was used as alternative fuel for cooking in household to replace LPG. The research operation was separated to 3 phases. The first was preparation and introduction. The second was instruction and practical training. The last was monitoring and project evaluation. The number of participants was 30. The number of biogas digester pilot household was 10. From the project evaluation by using the five-rating scale questionnaire, it was found that the evaluation about cognition showed the maximum level ( =4.42, S.D. =0.84). The second was about location, duration and food ( =4.36, S.D. =0.75). The lowest was about knowledge application ( =4.28, S.D. =0.77). For the project evaluation of success, it was found that every biogas digester can be used and the produced biogas can be used to replace LPG about 1.8 – 2 hrs/a day/a household. They can save the expenditure about 180 – 200 Baht/a month/a household. The biogas digester construction cost was about 3,000 Baht/a household. So, the payback period was 1.38 years.
โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการสร้างและใช้งานบ่อหมักแก๊สชีวภาพสำหรับครัวเรือน ให้มีความรู้ความสามารถในการสร้างและประยุกต์ใช้งานบ่อหมักแก๊สชีวภาพจากมูลโคและสุกรเพื่อนำแก๊สที่ได้ไปใช้เป็นเชื้อเพลิงทดแทนแก๊ส LPG สำหรับหุงต้มและประกอบอาหารในครัวเรือน โดยแบ่งการดำเนินงานออกเป็น 3 ช่วงคือ ช่วงที่ 1 การเตรียมการและชี้แจงทำความเข้าใจ ช่วงที่ 2 การดำเนินการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ และ ช่วงที่ 3 การติดตาม และประเมินผลสำเร็จของโครงการ โดยมีผู้เข้าร่วมฝึกอบรม จำนวน 30 คน ได้ตัวแทนครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 10 ครัวเรือน จากการประเมินผลการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใช้แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ พบว่า การประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจอยู่ในเกณฑ์สูงสุด (ค่าเฉลี่ยรวม 4.42, SD 0.84) รองลงมา คือ ด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร (ค่าเฉลี่ยรวม 4.36, SD 0.75) และการประเมินผลข้อมูลด้านการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์อยู่ในเกณฑ์ต่ำสุด (ค่าเฉลี่ยรวม 4.28, SD 0.77) ส่วนการประเมินผลสำเร็จของโครงการ พบว่า บ่อหมักแก๊สที่ทำการติดตั้งสามารถผลิตแก๊สชีวภาพได้ทุกบ่อและนำไปใช้ทดแทนแก๊ส LPG ได้โดยเฉลี่ย 1.8 – 2 ชั่วโมง/วัน/ครัวเรือน คิดเป็น 180 – 200 บาท/เดือน/ครัวเรือน มีต้นทุนในการสร้างบ่อหมัก 3,000 บาท/บ่อ และมีระยะเวลาคืนทุน 1.38 ปี
Abstract
This research aimed to transfer technology of biogas digester construction for applying the biogas in household. The villagers were instructed and trained about biogas digester construction for applying the biogas produced from cow and pig manure. The produced biogas was used as alternative fuel for cooking in household to replace LPG. The research operation was separated to 3 phases. The first was preparation and introduction. The second was instruction and practical training. The last was monitoring and project evaluation. The number of participants was 30. The number of biogas digester pilot household was 10. From the project evaluation by using the five-rating scale questionnaire, it was found that the evaluation about cognition showed the maximum level ( =4.42, S.D. =0.84). The second was about location, duration and food ( =4.36, S.D. =0.75). The lowest was about knowledge application ( =4.28, S.D. =0.77). For the project evaluation of success, it was found that every biogas digester can be used and the produced biogas can be used to replace LPG about 1.8 – 2 hrs/a day/a household. They can save the expenditure about 180 – 200 Baht/a month/a household. The biogas digester construction cost was about 3,000 Baht/a household. So, the payback period was 1.38 years.
Article Details
How to Cite
[1]
ศรีอุดม ย. and เทวตา อ., “โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการสร้างและใช้งานบ่อหมักแก๊สชีวภาพสำหรับครัวเรือน ในชุมชนบ้านท่าทองแดง จ.ตาก”, RMUTP Sci J, vol. 7, no. 1, pp. 138–150, Mar. 2014.
Section
บทความวิชาการ (Academic Articles)
ลิขสิทธ์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร