แอปพลิเคชันช่วยผู้ป่วยโรคแพนิค

Main Article Content

ซันลิม นิโสย
พิชญา ตัณฑัยย์
จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอการออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อช่วยตรวจคัดกรองผู้ใช้ที่มีอาการแพนิค โดยการทำแบบประเมินอาการแพนิค บันทึกผลความถี่ ความรุนแรง สถิติการเกิดของอาการของผู้ป่วยโรคแพนิค ซึ่งจะบันทึกอาการที่เกิดขึ้นและระดับความรุนแรงของแต่ละอาการ เตือนการรับประทานยา ในการเตือนจะบอกชื่อยา ปริมาณที่ต้องรับประทานในแต่ละครั้งและเวลาที่ต้องรับประทานยา นัดหมายวัน เวลา สถานที่ที่ต้องไปพบจิตแพทย์ และช่วยนำเสนอวิธีการผ่อนคลายเมื่อเกิดอาการแพนิคในรูปแบบของคลิปวิดีโอและเสียง

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biographies

ซันลิม นิโสย, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

พิชญา ตัณฑัยย์, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

References

เมดไทย. (26 มกราคม 2563). โรคแพนิค (Panic disorder) อาการ สาเหตุ การรักษาโรคแพนิค 9 วิธี!, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา: https://medthai.com/โรคแพนิค/#โรคแพนิค

ศิริกาญจน์ โภคะสวัสดิ์, อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง, อติรัตน์ วัฒนาไพลิน. (2557). การบำบัดการรู้คิดและปรับพฤติกรรมเพื่อลดอาการของโรควิตกกังวลในวัยรุ่น : การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์. วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(4), 7-14.

เมธี สุทธศิลป์, สายสมร เฉลยกิตติ. (2561). ผลของโปรแกรมบำบัดด้วยการแก้ปัญหาในผู้ป่วยโรควิตกกังวล ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่. วารสารพยาบาลตำรวจ, 10(1), 100-108.

สินเงิน สุขสมปอง, สาวิตรี แสงสว่าง, ดุษฎี อุดมอิทธิพงศ์, วัฒนาภรณ์ พิบูลอาลักษณ์. (2559). ความชุกของโรคจิตเวชในสังคมเมืองและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง : การทบทวนวรรณกรรม. วารสารสวนปรุง, 32(1), 28-41.

จุฑารัตน์ ทองสลับ. (2560). โรควิตกกังวลทั่ว ดีขึ้นได้ด้วยการปรับความคิดและพฤติกรรม. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์, 7(1), 40-51.

พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, นพพร ตันติรังสี วรวรรณ จุฑา, อธิบ ตันอารีย์, ปทานันท์ ขวัญสนิท, สาวิตรี อัษณางค์, กรชัย และสุทธา สุปัญญา. (2560). ความชุกของโรคจิตเวชและปัญหาสุขภาพจิต : การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของไทยระดับชาติ ปี พ.ศ. 2556. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 25(1), 1-19.

สุรชัย เกื้อศิริกุล. (30 มกราคม 2563). แบบประเมินและวิเคราะห์โรคตื่นตระหนก (Panic disorder), [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา:https://www.manarom.com/test/panic_disorder_thai.html

นพพร ตันติรังสี. (2561). ตัววัดทางระบาดวิทยาเพื่อคำนวณภาระโรควิตกกังวลและโรคเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญในประเทศไทย. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 26(1), 75-87.

Figma. (2 February 2020). Figma helps teams create, test, and ship better designs from start to finish. [Online] Available: https://www.figma.com/

Facebook Open Source. (15 July 2020). React Native. [Online] Available: https://reactnative.dev/

Firebase. (20 July 2020). Firebase helps you build and run successful apps. [Online] Available: https://firebase.google.com/

พิชฌาย์วีร์ สินสวัสดิ์, ปณัชญา เชื้อวงษ์, ธานิล ม่วงพูล. (2562). แอปพลิเคชันคำนวณยากลุ่มเสี่ยง. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, 5(1), 42-51.

พิศวาท ชูลิขิต. (2552). ประสิทธิภาพของการบำบัดด้วยเทคนิคการปรับมโนภาพตามทฤษฎีโปรแกรมภาษาประสาทสัมผัสต่อความวิตกกังวลของผู้ป่วยโรควิตกกังวล. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 40(1), 36-45.

พัชรินทร์ ครองธรรม, เพ็ญพักตร์ อุทิศ, สมรักษ์ สันติเบญจกุล. (2561). ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดบนพื้นฐานของเจริญสติต่อความวิตกกังวลในผู้ป่วยโรควิตกกังวลทั่วไป. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 30(1), 23-34.

เบญจมาศ ปรีชาคุณ, ฤชุตา โมเหล็ก, ดารารัตน์ ชูวงค์อินทร์, เพ็ญพักตร์ กองเมือง, มาริษา สมบัติบูรณ์. (2564). การพยาบาลในยุคเทคโนโลยีแห่งข้อมูล. วารสารวิชาการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์, 3(1), 19-39.