การพัฒนาแอปพลิเคชันแอนดรอยด์สำหรับระบบติดตามแพขนานยนต์ด้วย GPS

Main Article Content

ชยานิษฐ์ บุญสนิท

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้นำเสนอการพัฒนาแอปพลิเคชันแอนดรอยด์ สำหรับการติดตามแพขนานยนต์ ของ อบจ. สงขลา ซึ่งแพขนานยนต์จะให้บริการระหว่างฝั่งอำเภอเมืองสงขลากับฝั่งอำเภอสิงหนคร โดยแอปพลิเคชันในระบบแอนดรอยด์สามารถแสดงพิกัดของแพขนานยนต์ ความหนาแน่นของการจราจรบริเวณท่าแพขนานยนต์แบบแถบสีบนแผนที่กูเกิ้ลได้ และในส่วนของอุปกรณ์ติดตามแพขนานยนต์ประกอบด้วย ESP-32 จะทำงานร่วมกับโมดูล GPS นอกจากนี้แอปพลิเคชันยังสามารถแสดงภาพวิดิโอได้จากกล้องวงจรปิดแบบ IP จากการทดสอบระบบผลปรากฏว่าแอปพลิเคชันสามารถแสดงผลพิกัดของแพขนานยนต์ และแสดงภาพวิดิโอได้ตามความต้องการ และผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อแอปพลิเคชันที่สร้างขึ้น มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.68 ซึ่งอยู่ในระดับ ดีมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ฉัตรทิพย์ ยอแสงรัตน์ และพินิจ ดวงจินดา. “การประเมินต้นทุนเชื้อเพลิงในการเดินทางระหว่าง เส้นทางท่าแพขนานยนต์สงขลาและเส้นทางสะพานติณสูลานนท์” การประชุมวิชาการ ระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ประจําปี 2554 และการประชุม วิชาการและเสนอผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยทักษิณครั้งที่ 21 ประจําปี 2554. 25-28 พฤษภาคม 2554. จังหวัดสงขลา.

แผนที่กูเกิล. สืบค้นจากhttps://www.google.com/maps/@7.1882806,100.5057527,12.46z?hl=th (เข้าถึงเมื่อวันที่: 3 ธันวาคม 2563)

สํานักงานท่าแพขนานยนต์ จังหวัดสงขลา. อัตราค่าโดยสารแพขนานยนต์ จำนวนของแพขนานยนต์ที่ใช้งาน การดำเนินกิจการของท่าแพขนานยนต์. สอบถามเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564

เซิร์ฟเวอร์. สืบค้นจาก www.digitalocean.com/

Cloud Firestore สืบค้นจาก. https://console.firebase.google.com/ (เข้าถึงเมื่อวันที่: 3 ธันวาคม 2563)

โปรแกรม ngrok. สืบค้นจาก https://ngrok.com/download (เข้าถึงเมื่อวันที่: 17 สิงหาคม 2563)

Android Studio Code. สืบค้นจาก https://code.visualstudio.com/ (เข้าถึงเมื่อวันที่: 22 เมษายน 2563)

Visual Studio Code. สืบค้นจาก https://code.visualstudio.com/ (เข้าถึงเมื่อวันที่: 25 เมษายน 2563)

กิตติพงศ์ พิทักษ์สกุลถาวร นิคม ลนขุนทด และอัษฎา วรรณกายนต์. “การออกแบบและพัฒนาระบบกำหนดตำแหน่งยานพาหนะแบบอัตโนมัติ ในการติดตามการเดินทางขนส่งสินค้าด้วยรถบรรทุก” วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ 8. ฉบับที่ 7. กรกฎาคม 2564.

ธนชาต ณัฐขจรกุล และคณะ. (2552). การพัฒนาระบบระบุตำแหน่งด้วยจีพีเอสสำหรับเซนเซอร์โหนดเคลื่อนที่ไร้สาย. ใน การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ครั้งที่ 7). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 21-22 พฤษภาคม 2552. หน้า 334-338.

Moloo R.K and Digumber V.K., “Low-Cost Mobile GPS Tracking Solution”, International Conference on Business Computing and Global Information, 2011, p. 516-519.

Kais Mekki, Eddy Bajic and Fernand Meyer, “Indoor Positioning System for IoT Device based on BLE Technology and MQTT Protocol”, Proceedings of 5th World Forum on Internet of Things (WF-IoT), pp. 796-801, IEEE April 2019.

Sutar, S.H., Koul, R. and Suryavanshi, R. (2016) Integration of Smart Phone and IOT for Development of Smart Public Transportation System. International Conference on Internet of Things and Applications, Pune, 22-24 January 2016, 73-78.

Kiran, R., et al. (2017) Implementation of Smart Bus Tracking System Using Wi-Fi. International Journal of Innovative Research in Science, Engineering and Technology, 6, 12940-12946