การวัดเวลาและความถี่

Main Article Content

ทยาทิพย์ ทองตัน

บทคัดย่อ

      มาตรวิทยาเวลาและความถี่เป็นการวัดและบ่งชี้คุณลักษณะของมาตรฐานความถี่จากอะตอม รวมไปถึงการถ่ายทอดค่าและเปรียบเทียบค่าเวลาจากนาฬิกาอะตอมที่อยู่ระยะไกลเพื่อให้ได้เวลาที่มีความเที่ยงตรงและแม่นยำเพื่อให้บริการประสานเวลาที่มีค่าดีกว่าระดับนาโนวินาที ระบบดาวเทียมนำทางสากลได้เข้ามามีบทบาทสำหรับการเชื่อมโยงเวลาระหว่างสถาบันมาตรวิทยาของประเทศต่างๆ ที่ดำเนินการวัดคาบเวลาจากนาฬิกาอะตอมและระยะเวลาที่สัญญาณใช้ในการเดินทางจากดาวเทียมนำทางสากลมาที่เครื่องรับสัญญาณสำหรับใช้ในการเปรียบเทียบเทียบสัญญาณเวลาในการประมวลผลหาคุณลักษณะและประสิทธิภาพของนาฬิการวมไปถึงการสอบย้อนกลับไปยังการบอกเวลาในระบบเวลาสากลร่วม โดยบทความนี้ได้แสดงวิธีการดำเนินการ ผลที่ได้จากการวัดสัญญาณเวลา คุณลักษณะและประสิทธิภาพของมาตรฐานการวัดเวลาและความถี่ของประเทศไทย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

BIPM, “Values of the differences between UTC and its local representations by individual time laboratories,” BIPM, 2021. [ออนไลน์]. Available: ftp://tai.bipm.org/. [%1 ที่เข้าถึง7 September 2021].

P. Tirawanichakul, T. Thongtan และ C. Satirapod, “Estimations of system time differences using GNSS precise point positioning technique,” ใน Geoinfotech, Bangkok, 2017.

P. Defraigne, “GNSS time and frequency transfer,” ใน Springer Handbook of Global Navigation Satellite Systems, Switzerland, Springer International Publishing, 2017, p. 1335.

C. Audoin และ B. Guinot, The measurement of time: time, frequency and the atomic clock, Cambridge: Cambridge university press, 2006.

T. Thongtan, “GNSS time and frequency transfers,” ใน Electrical Engineering Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI) Conference on Application Research and Development, Nakhon Phanom, 2021.

Microsemi, “5071A,” Cesium Clock Primary Frequency Standard, 2020. [ออนไลน์]. Available: https://www.microsemi.com/product-directory/cesium-frequency-references/4115-5071a-cesium-primary-frequency-standard. [%1 ที่เข้าถึง20 April 2021].

Kvarz, “Kvarz Institute of Electronic Measurements,” CH1-95 Active Hydrogen Maser, 2020. [ออนไลน์]. Available: http://www.kvarz.com/general/1-95E.html. [%1 ที่เข้าถึง20 April 2021].

P. Defraigne และ G. Petit, “CGGTTS-Version 2E: an extended standard for GNSS Time Transfer,” Metrologia, เล่มที่ G1,%1http://dx.doi.org/10.1088/0026‐1394/52/6/G1, p. 52, 2015.

NIMT, “เวลามาตรฐานประเทศไทย,” 2017. [ออนไลน์]. Available: https://www.nimt.or.th/main/?page_id=36686. [%1 ที่เข้าถึง20 April 2021].

กรมอุทกศาสตร์ , “เวลามาตรฐานประเทศไทย,” [ออนไลน์]. Available: http://www.hydro.navy.mi.th/TIME/. [%1 ที่เข้าถึง20 April 2020].

D. Howe, “Frequency stability,” ใน National Institute of Standard and Technology (NIST), Boulder, Colorado.