การศึกษาและพัฒนาวัสดุดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากยางพารา

Main Article Content

เกียรติศักดิ์ สละยอง
ฐิติพงษ์ เลิศวิริยะประภา
กิตติศักดิ์ แพบัว
ดนัย ต. รุ่งเรือง

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอความเป็นมาของการนำยางพาราไทยมาทำเป็นวัสดุดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยจะเป็นการนำเสนอในด้านการศึกษาและพัฒนาวัสดุดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากยางแห้งชนิด เอสทีอาร์ไฟว์แอล (STR-5L) และการสร้างวัสดุดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากน้ำยางข้น 60 เปอร์เซ็นต์ (%) รวมถึงการพัฒนาสู่การนำไปใช้งานอย่างเป็นรูปธรรม ในบทความนี้จะกล่าวถึงที่มาของการสร้างวัสดุดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากยางพาราวิธีการออกแบบ วิธีการสร้าง สูตรสารเคมี วิธีการขึ้นรูปการทดสอบทางกายภาพ และการทดสอบทางไฟฟ้า นอกจากนี้ยังแสดงถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการทดสอบประสิทธิภาพในการดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งพบว่าวัสดุดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากยางพาราที่ถูกพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในการดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเทียบเท่า หรือดีกว่าวัสดุดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีขายในท้องตลาด และมีลักษณะทางกายภาพที่ดีเหมาะกับการใช้งานจริง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกียรติศักดิ์ สละยอง. ตัวดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดแผ่นเรียบจากยางพารา. ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2556.

K. Salayong and T. Lertwiriyaprapa, “Study of electromagnetic absorber made by natural rubber,” IEEE Conference on Antenna Measurements & Applications (CAMA)., DOI : 10.1109/CAMA.2015.7428183., 2015.

เกียรติศักดิ์ สละยอง. การพัฒนาตัวดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ารูปทรงพีระมิดจากยางพารา. ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2561.

K. Salayong, T. Lertwiriyaprapa, K. Phaebua, P. Akkaraekthalin, and Hsi-Tseng Chou, “Electromagnetic Absorber Made by Natural Rubber,” IEICE Transactions on Communications., DOI : 10.1587/transcom.2018ISI0002., 2018.

K. Salayong, K. Phaebua and T. Lertwiriyaprapa, “Performance Investigations of Electromagnetic Absorber Made of Natural Rubber,” International Conference on Electrical Engineering / Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology. 19-22 May. Empress Hotel Chiang Mai : 353-356, DOI : 10.1109/ECTI-CON51831.2021.9454738., 2021.

K. Salayong, T. Lertwiriyaprapa, D. Torrungrueng, S. Suksai, P. Pongmuksuwan and W. Kitisatorn, “Electromagnetic wave absorbing properties of carbon black-filled natural rubber latex,” Materials Today : Proceedings., 52, 2015. DOI : 10.1016/j.matpr.2021.10.425., 2021.

P. Pongmuksuwan, K. Salayong, T. Lertwiriyaprapa and W. Kitisatorn, “Electromagnetic Absorption and Mechanical Properties of Natural Rubber Composites Based on Conductive Carbon Black and Fe3O4,” Materials., 15(19), 6532. DOI : 10.3390/ma15196532., 2022.

M. K. M. Salleh, M. Yahya, Z. Awang, W. N. W. Muhamad, A. M. Mozi and N. Yaacob, “Single Layer Coconut Shell-Based Rubber Microwave Absorbers,” TENCON 2011 - 2011 IEEE Region 10 Conference. 21-24 November. Bali INDONESIA : 1110-1113, DOI : 10.1109/TENCON.2011.6129283., 2011.

M. K. M. Salleh, M. Yahya, Z. Awang, W. N. W. Muhamad, A. M. Mozi and N. Yaacob, “Binomial Multi-Layer Coconut Shell-Based Rubber Microwave Absorber Design,” IEEE International RF and Microwave Conference RFM., 12-14 December. Negeri Sembilan MALAYSIA : 187-190, DOI : 10.1109/RFM.2011.6168726., 2011.

F. Malek, E. M. Cheng, O. Nadiah, H. Nornikman, M. Ahmed, M. Z. A. Abd Aziz, A. R. Osman, P. J. Soh3, A. A. H. Azremi, A. Hasnain and M. N. Taib6, “Rubber tire dust-rice husk pyramidal microwave absorber,” PIER., vol. 117, 449-477. DOI : 10.2528/PIER11040801., 2011.

E. J. Zachariah, K. Vasudevan, G. Sreenivas, P. Mohanan, P. A. Pravinkumar and K. G. Nair, “Microwave Absorbing Material Using Rubber & Carbon,” IJPAP., Vol. 18. No.3., 216-218., 1980.

. S. Takano, T. Yasuzumi, K. Moriuchi, T. Sakata, T. Ozaki and O. Hashimoto, “Optimum design of wave absorbers using foamed polyimide containing carbon black based on genetic algorithm,” International Conference on Electromagnetics in Advanced Applications. 12-16 September. Torino ITALY : 664-667, DOI : 10.1109/ICEAA.2011.6046421., 2011.

Z. Fang, C. Li, J. Sun, H. Zhang and J. Zhang, “The electromagnetic characteristics of carbon foams,” Science Direct Carbon 45 (15) : 2873-2879. DOI : 10.1016/j.carbon.2007.10.013., 2007.

TDK RF Solutions. (14 January 2016). Inc. Microwave Absorbers. [Online] Available : http://www.tdk-components.de/

H. Nornikman, P.J Soh and A.A.H Azremi, “Performance of Different Polygonal Microwave Absorber Design Using Novel Material”. The 2009 International Symposium on Antennas and Propagation. 26-29 June. Shonan Village Centre Auditorium JAPAN : 1151-1154., 2009.

E&C Anechoic Chambers NV. (14 January 2016). ECCOSORB VHY-18-NRL Pyramidal Hybrid Absorber. [Online] Available : http://www.ecanechoicchambers.com/

NANJING LOPU TECHNOLOGIES. (21 November 2021). LOPU LPPFA Microwave RF absorber PU Foam based Pyramid RF Absorbers. [Online] Available : https://www.rf-absorbing.com/sale-8432709-microwave-rf-absorber-pu-foam-based-pyramid-rf-absorbers.html

ดนัย ต.รุ่งเรือง, กิตติศักดิ์ แพบัว และ ฐิติพงษ์ เลิศวิริยะประภา, “ความต้องการระบบวัดทดสอบคุณลักษณะของ

สายอากาศสำหรับอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศไทย,”วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ปีที่ 30(1), DOI : 10.14416/j.kmutnb.2019.10.002., 2563.

ฐิติพงษ์ เลิศวิริยะประภา และ คณะ (22 มกราคม 2561). “ตัวดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากยางธรรมชาติ”. ประเทศไทย. อนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 1603002078.

ฐิติพงษ์ เลิศวิริยะประภา และ คณะ (29 ธันวาคม 2564). “สูตรส่วนผสมและกรรมวิธีการผลิตวัสดุดูดซับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากน้ำยางพารา” ประเทศไทย. อนุสิทธิบัตร เลขที่คำขอ 2103003809.