การพัฒนาเกมสองมิติไหว้พระเก้าวัดดีอุบลราชธานีศรีวะนาไล
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อออกแบบภาพประกอบทสำหรับใช้ในการพัฒนาเกมสองมิติไหว้พระเก้าวัดดีอุบลราชธานีศรีวะนาไล 2) เพื่อทดลองและประเมินการออกแบบภาพประกอบที่ใช้ในการพัฒนาเกมสองมิติไหว้พระเก้าวัดดีอุบลราชธานีศรีวะนาไล 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เล่นเกมสองมิติไหว้พระเก้าวัดดีอุบลราชธานีศรีวะนาไล โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จำนวน 30 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดียและแอนิเมชัน จำนวน 3 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัยคือ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผู้วิจัยได้พัฒนาเกมสองมิติไหว้พระเก้าวัดดีศรีวะนาไล โดยใช้การเก็บแต้มจากการเล่นเกม โดยการเก็บแต้ม โดยสามารถเลือกสัญลักษณ์ที่แทนการขอพรใน 4 ด้าน คือ 1) ด้านสุขภาพ 2) ด้านสติปัญญา 3) ด้านการงาน 4) ด้านทรัพย์สมบัติ จากการประเมินประสิทธิภาพของระบบจากผู้เชี่ยวชาญพบว่าอยูในระดับดีมาก ( x̄ = 4.55) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจ โดยรวมพึงพอใจในระดับมาก ( x̄ = 4.26) ซึ่งถือได้ว่ามีคุณภาพสูง
Article Details
References
วันวิสาข์ พรมจีน และ อติเทพ แจ้ดนาลาว. (2563). การใช้แสงและสีทางจิตวิทยาเพื่อการออกแบบพัฒนาฉาก.
วารสาร Veridian E-Journal.มหาวิทยาลัยศิลปากร. 12(6), 2521-2541
พงษ์ศักดิ์ ใชยทิพย์. (2544) . เทคนิคการออกแบบงานกราฟิก. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
อนุสรา อักษรเสือ และ จุมพล ราชวิจิตร.(2566).การสร้างหนังสือนิทานเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เรื่องทฤษฎีสีในกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะสําาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.วารสารศศึกษาศาสตร์.มหาวิทยาลัยขอนแก่น
(2),120-127
อรทัย สุทธิจักษ์ และ กชพรรณ ยังมี.(2558). การพัฒนาเกม 2 มิติ สำหรับฝึกทักษะการแยกสี ขนาด และรูปทรง
เรขาคณิตของเด็ก ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับกลาง. วารสารวิชาการ AJNU ศิลปะสถาปัตยกรรม
ศาสตร์. มหาวิทยาลัยนเรศวร. 6(1),170-183
ดนัยพร ลดากุล และ ปุญญารัตน์ ปุญญา (2560).การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ เพื่อส่งเสริมคุณธรรมด้านความ
ซื่อสัตย์ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 .วารสารวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยีประยุกต์. มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม. 1(1),64-71
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. การสุ่มตัวอย่าง [Chapter 6 Random Sampling]. สืบค้น 1 กันยายน 2565.
จาก http://www.udru.ac.th/oldsite/attachments/elearning/01/07.pdf
พชรพรรณ ชรารัตน์,ประวิทย์ ซิมมาตุน และ พงศ์ธร โพธิ์ศักดิ์. (2558). การพัฒนาเกมการสอนเรื่องการแปลงเลข
ฐานในระบบคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ. The 34th
National Graduate Research Conference ABSTRACTS AND FULL PAPERS. Khon Kaen
University. ( 2026 - 2037 ).
ธนสาร รุจิรา ,ปานจิตร์ หลงประดิษฐ์ และ ณัฐชา เดชดำรง.(2560).เกมส่งเสริมการเรียนรู้แบบผสมผสานเรื่องการ
ประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์. วารสารวิชาการ การจัดการเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
(1) ,19-27.
พรชนัน ดาราพงษ์. (2555). การออกแบบเกมดิจิตอลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ สำหรับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3.วิทยานิพนธ์.มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้น 1 กันยายน 2564.
จาก https://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/3579
สุภาณี ศรีอุทธา และ สวียา สุรมณี. (2560).การพัฒนาเกมแอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้บนแท็บเล็ต เรื่อง ฮาร์ดแวร์
คอมพิวเตอร์ สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.วารสารวิชาการ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.1(1), 70-78