การพัฒนาเส้นด้ายบัวหลวงด้วยเทคนิคการย้อมสีธรรมชาติ

Main Article Content

รับโชค ทองเจริญ
วิวัฒน์ หิรัญพฤกษ์
อนุสร หงส์สัจจากุล
อุษณกร ปัญญาวชิร
พิชาธร นวลได้ศรี
นารีรัตน์ บุญลักษณ์
ปิยะพงษ์ ยงเพชร
ณรัช พรนิธิบุญ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เพื่อการพัฒนาเส้นด้ายบัวหลวงด้วยเทคนิคการย้อมสีธรรมชาติ เพื่อการพัฒนาเส้นด้ายบัวหลวงด้านด้วยเทคนิคการย้อมสีธรรมชาติจาก ครั่ง เปลือกมะพูด คราม โดยแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน ระดับความเข้มข้นของเฉตสี แบ่งได้ 3 ระดับ 0.5, 1, 2 กิโลกรัมต่อเส้นด้ายบัว 1 กิโลกรัม เป็นต้นแบบเทคนิคการย้อมสีธรรมชาติเส้นด้ายบัวหลวงซึ่งกระบวนการดังกล่าวยังส่งผลไปถึง การทดสอบคุณภาพการติดสีของเส้นด้ายบัวหลวง คุณสมบัติทางเคมี พบว่าค่าความคงทนของสีต่อการซัก เมื่อเทียบกับหลักเกณฑ์ของมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มผช. ซึ่งกำหนดค่าความคงทนของสีต่อการซักของสีธรรมชาติให้มีค่าไม่ต่ำกว่าระดับ 2-3 เต็ม 5 ผลการทดสอบพบว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของมาตรฐาน และค่าความคงทนของสีต่อเหงื่อ ทั้งในสภาวะเหงื่อที่เป็นกรดและด่าง เมื่อเทียบกับหลักเกณฑ์ของมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน มผช. ซึ่งกำหนดค่าความคงทนของสีต่อการซักของสีธรรมชาติให้มีค่าไม่ต่ำกว่าระดับ 2-3 เต็ม 5 ผลการทดสอบพบว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของมาตรฐาน

Article Details

How to Cite
[1]
ทองเจริญ ร. ., “การพัฒนาเส้นด้ายบัวหลวงด้วยเทคนิคการย้อมสีธรรมชาติ”, NKRAFA J SCI TECH, ปี 20, ฉบับที่ 2, น. 98–109, พ.ย. 2024.
บท
บทความวิจัย

References

Vuthiganond, N., Chitichotpanya, P., Nakpathom, M., and Mongkholrattanasit, R. (2022). Ecological dyeing of acrylic yarn with colorant derived from natural lac dye. Journal of Metals, Materials and Minerals, 32(4), 71-78. Ekasit Meepraseartsagool, P. U. (2023). Innovation From The Development of Nelumbo Nucifra Gaertn Fiber Using Plasna Process. Art Pritas Journal , 70.

กิตติ ศรี นุช ศาสตร์. (2018). โครงสร้าง และ สมบัติ วัสดุ เสริม แรง เส้นใยแก้ว สำหรับ สร้าง ชิ้น ส่วน อากาศยาน ไร้ นักบิน. วารสารนายเรืออากาศวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 14, 20-24.

Guan, Q. F., Han, Z. M., Zhu, Y., Xu, W. L., Yang, H. B., Ling, Z. and Yu, S. H. (2021). Bio-inspired lotus-fiber-like spiral hydrogel bacterial cellulose fibers. Nano letters, 21(2), 952-958.

Institute, I. S. (2024, January 15). Industrial Standards Institute. Retrieved from www.tisi.go.th

Mahamasuhaimi Masae, P. J. (2017). Fastness and UV Protection of Silk Dyed With Tea . Srinakharinwirot University (Journal of Science and Technology) , 76-79.

กนกพรรณ ศักดิ์สุริยา. (2549). ผลของอุณหภูมิและภาระบรรทุกทางชลศาสตร์ต่อการดูดติดของสีรีแอคทีฟโดยวัสดุ

เหลือใช้ทางการเกษตร. ในวิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (หน้า 65-58). เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Mongkholrattanasit, R. (2022). Bleaching, dyeing, printing, designing and creating handwoven cotton products. Bangkok.

Khwanhathai Aonfak1 Nittaya Kanakiat, P. U. (2016). Dyeing Polyester Fabrics with Curcumin using Infrared Dyeing Machine. Burapha Science Journal, 25-26.

Sontisombat, P. C. (2019). An Application of Polycationic Agent to Improve the Dyeing Behaviourof Direct Dyes on Cotton Fabric. Journal of Engineering, RMUTT, 13 – 14

Thai Community Product Standard. (2015). Products Made from Hand Woven Fabrics. Retrieved on January 15,2024, from https://tcps.tisi.go.th/pub/tcps0828_58