การดูดซับทองแดง (II) ในน้ำเสีย ด้วยไคโตซานที่สกัดจากเปลือกปูม้า

Main Article Content

ชัชญาภา เกตุวงศ์
ภานุวัฒน์ เกตุวงศ์
รัตติยาภรณ์ ไปนา
มนทการ รังเพีย

บทคัดย่อ

        สารสกัดไคโตซานจากเปลือกปูม้าสามารถดูดซับทองแดง (II) ไอออนในน้ำเสีย  สังเคราะห์ได้ โดยในการทดลองได้ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการดูดซับทองแดง (II) ไอออน พบว่าสภาวะที่เกิดการดูดซับได้ดีที่สุด คือ ปริมาณไคโตซาน 0.5 กรัมต่อน้ำเสีย 50 มิลลิลิตร เวลาการดูดซับ 60 นาที ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส และค่า pH 5 การศึกษาจลศาสตร์ของการดูดซับทองแดง (II) ไอออน โดยประเมินจากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพัทธ์ พบว่าจลศาสตร์ของการดูดซับทองแดง (II) ไอออน จากเปลือกปูม้าสอดคล้องกับปฏิกิริยาอันดับสองเทียม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Al Sagheer, F.A.; Al Sughayer M.A.; Muslim S.; Elsabee M.Z. (2009). “Extraction and characterization of chitin and chitosan from marine sources in Arabian Gulf,” Carbohydrate Polymers. 77(2) : 410-419.

Benavente M.; Moreno L.; Martinez J. (2011). “Sorption of heavy metals from gold mining wastewater using chitosan,” Journal of the Taiwan Institute of Chemical Engineers. 42(6) : 976-988.

Dorota, K. (2011). “Chitosan as an effective low-cost sorbent of heavy Metal complexes with the polyaspartic acid,” Chemical Engineering Journal. 173(1) : 520–529.

Fu F.; Wang Q. (2011). “Removal of heavy metal ions from wastewaters: a review,” Journal of Environmental Management. 92(3) : 407-418. Ngah, W.S.W.;

Ghani, S.A.; Kamari, A. (2005). “Adsorption behavior of Fe(II) and Fe(III) ions in aqueous solution on chitosan and cross-linked chitosan beads,” Bioresource Technology. 96(4) : 443-450.

Prakash , N., Sudha, P.N., Renganathan, N.G. (2012). “Copper and cadmium removal from synthetic industrial waste water using chitosan and nylon 6,” Environ mental Science Pollution Research International. 19(7) : 2930-2941.