การออกแบบและสร้างเครื่องแล่ปลาแบบใบมีดคู่สำหรับธุรกิจชุมชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการพัฒนาเครื่องแล่ปลาที่มีลักษณะลำตัวแบนสำหรับธุรกิจขนาดเล็ก ประกอบด้วย 3 ส่วนที่มีความสำคัญ ได้แก่ ส่วนที่ 1 ชุดแขนประคองลำตัวปลา โดยอาศัยประโยชน์จากสรีระของปลานิล และน้ำหนักของปลาเพื่อกำหนดการตั้งค่าเพื่อให้การประคองลำตัวเข้าสู่ชุดใบมีดมีความเหมาะสมมากที่สุด ส่วนที่ 2 ชุดใบมีดที่ใช้แยกเนื้อปลาออกจากกระดูกสันหลัง และครีบหางได้ในการแล่เพียงครั้งเดียว และส่วนที่ 3 ชุดสายพานลำเลียงป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากแรงสะบัดของใบมีด จากการประเมินสมรรถนะการทำงานในการทดลองรูปแบบต่างๆ สามารถสรุปได้ว่าเครื่องจักรสมารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่กำหนด โดยเนื้อปลาที่ได้หลังจากการแล่ผ่านการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญร้อยละ 95 รวมถึงสามารถลดเวลาในการแล่เหลือเพียง 11.42 วินาทีต่อตัว ซึ่งเร็วกว่า 2 เท่า หากเปรียบเทียบกับการแล่โดยใช้แรงงานที่มีทักษะความเชี่ยวชาญสูง
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนเท่านั้น
References
กมลพิพัฒน์ ชนะสิทธิ, ประสพชัย พสุนนท, และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2561). การวิเคราะห์องค์ประกอบพฤติกรรมและปัจจัยในการเลือกซื้ออาหารแช่แข็งพร้อมรับประทานของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(27), 56-69.
เกวลิน หนูฤทธิ์. (2565). รายงานการสำรวจ: สินค้าจากปลานิลและผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: กองนโยบายและแผนพัฒนาการประมง กลุ่มเศรษฐกิจการประมง.
ณัฐวุฒิ บุญสายัง, ปนันต์ คชานันท์, ศุภกิจ เศษวิ, และ อรรถเดช อินพาเพียร. (2557). การสร้างเครื่องแล่เนื้อปลาลำตัวแบน : กรณีศึกษาพัฒนาชุดใบมีดและชุดลำเลียงตัวปลา. (สารนิพนธ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์).
เพชรรัตน์ วงษ์จันฬา, และ สยาม เสริมทรัพย์. (2553). การออกแบบและประดิษฐ์เครื่องตัดหัวปลาแบบวงล้อ . กรุงเทพฯ: กรมประมง.
รัตนาพร อินทรพานิชย์, และ วรณี มังคละศิริ. (2560). การสร้างสมการพยากรณ์การใช้พลังงานด้วยการวิเคราะห์การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ : กรณีศึกษา โรงงานผลิตเครื่องเสียงติดรถยนต์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 25(5), 893-905.
วิชิตชัย วงษ์แจ้ง, สยาม เสริมทรัพย, สยาม เสริมทรัพย, และ ศรัณย์ โคตรมะณ . (2564).การพัฒนาเครื่องตัดหัวปลาดุก. กรุงเทพฯ: กรมประมง.
วิทยา หนูช่างสิงห์. (2551). การออกแบบและสร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแล่เนื้อปลาลำตัวแบนด้วยมีดเดี่ยววางตัว. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
สยาม เสริมทรัพย์. (2556). การพัฒนาเครื่องแยกเนื้อปลาจากกระดูกและก้างแบบลูกกลิ้ง. กรุงเทพฯ:กรมประมง.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). กินปลามีประโยชน์อย่างไร. [https://www.thaihealth.or.th]. สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th
/?p=226379
สุริยัน อุตตโร, สิงห์ณรงค์ สิรินฺทรเมธ, สฤทธิ์ สุมโน, พัฒนพล สิริสุวณฺโณะวงษ์ทอง สุภทฺโท. (2564). การพัฒนาเทคนิคและกระบวนการถนอมอาหารตามภูมิปัญญาท้องถิ่นของวิสาหกิจชุมชนบ้านโนนกาหลง อำเภอพิบูลมังสาหารจังหวัดอุบลราชธานี. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 6(1), 381-396.
Abarra, S. T., Velasquez, S. F., Guzman, K. D. D. C., Felipe, J. L. F., Tayamen, M. M., & Ragaza, J. A. (2017). Replacement of fishmeal with processed meal from knife fish Chitala ornata in diets of juvenile Nile tilapia Oreochromis niloticus. Aquaculture Reports, 5, 76-83.
Bremer, F., & Matthiesen, S. (2020). A review of research relating to food slicing in industrial applications. Journal of Food Engineering, 268, 109735.
Hun, D. (2001). Farm Power And Machinery Management (10th Edition). Hoboken, New Jersey, USA: Wiley–Blackwell.
Montgomery, D. C. (2010). Introduction to Statistical Quality Control (6th Edition). Hoboken, New Jersey, USA: John Wiley & Sons, Inc.
Schuldt, S., Witt, T., Schmidt, C., Schneider, Y., Nündel, T., Majschak, J.-P., & Rohm, H. (2018). High-speed cutting of foods: Development of a special testing device. Journal of Food Engineering, 216, 36-41.
Völkl, T. (2012). Sickle Blade, European Patent EP000002529903B1.
Walter, C. (1931). Slicing Machine, United states Patent US1957623A.
Wedgwood, I. (2016). Lean Sigma--A Practitioner's Guide 2nd Edition. Hoboken, New Jersey: Prentice Hall 2016.