Factors related to COVID-19 preventive behaviors among health science students of Huachiew Chalermprakiet University

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

ผู้แต่ง

  • ตวงพร กตัญญุตานนท์ คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • ธนภรณ์ ทองศิริ
  • อารยา พิชิตชัยณรงค์
  • ธันยพร กิ่งดอกไม้
  • สุภาพ ธรรมกุล
  • ภาวลิน แสนคำราง
  • ซัยนี่ บิลก่อเด็ม

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการป้องกันโรค, โควิด-19, นักศึกษา, วิทยาศาสตร์สุขภาพ

บทคัดย่อ

The objectives of this cross-sectional descriptive research were to study the COVID-19 preventive behaviors and to study the relationship of modifying factors, individual beliefs, cues to action with COVID-19 preventive behaviors of the health science students. The sample was 340 health science students of Huachiew Chalermprakiet University and was selected by using the stratified random sampling based on gender, year of study, and faculty.  The questionnaire was used as a research tool for data collection. The obtained data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test and Spearman’s rank correlation analysis.

The findings revealed that the COVID-19 preventive behaviors of the health science students were at a high level (=3.17, SD=0.35). Modifying factors found that the faculty was related to COVID-19 preventive behaviors of students with a statistical significance of 0.05. However, it was found that gender, age, year of study, and knowledge about COVID-19 were not significantly related to COVID-19 preventive behaviors. Individual beliefs found that perceived susceptibility of COVID-19, perceived severity of COVID-19, perceived benefit of COVID-19 prevention, and perceived self-efficacy in the prevention of COVID-19 had a positive relationship with the COVID-19 preventive behaviors of students at the significance level of 0.05 (r = 0.250, 0.303, 0.356, 0.583 P-value=0.000), but perceived barriers of COVID-19 prevention was not significantly related to the COVID-19 preventive behaviors. Cues to action found that family support and receiving information on COVID-19 prevention from the media had a positive relationships with the COVID-19 preventive behaviors  of students  at the significance level of 0.05(r = 0.506, 0.459, P-value = 0.000)

References

1. สุรัยยา หมานมานะ, โสภณ เอี่ยมศิริถาวร, สุมนมาลย์ อุทยมกุล. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). วารสารสถาบันบำราศนราดูร 2563;14(2):124-33.
2. เทียนสิริ เหลืองวิไล, ฐาปนัต บัวภิบาล, ชาญชัย สุขสงวน, วีระพล วิลามาศ, สมภูมิ มีชาวนา, สุภาวดี ลีลายุทธ. การประเมินสถานการณ์โรคโควิด 19 ในประเทศไทยโดยใช้แบบจำลอง SIR/D. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนายเรืออากาศ 2563;16(2):67-73.
3. กรมควบคุมโรค ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน. รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฉบับที่ 241 วันที่ 31 สิงหาคม 2563 [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 15 ธันวาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://www.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/110/2020/09/241-310863.pdf
4. กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 Coronavirus Disease 2019 [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g _km/handout001_12032020.pdf
5. รุ่งทิวา มากอิ่ม, ฐิติกร โตโพธิ์ไทย, ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย. บทเรียนจากการป้องกันและควบคุมการระบาดของโควิด-19: กรณีศึกษาเทศบาลเมืองอ่างทอง. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข 2563;14(4):489-507.
6. กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางปฏิบัติด้านสาธารณสุขเพื่อการจัดการภาวะระบาดของโรคโควิด-19 ในข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 1) [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/ file/g_other/g_other02.pdf
7. มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก. ความรู้ COVID-19 [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก: https://www.gj.mahidol.ac.th/main/category/covid19/
8. ศิราณี อินทรหนองไผ่. พฤติกรรมสุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อภิชาติการพิมพ์; 2548.
9. วรรณา จงจิตรไพศาล, อดุลย์ บัณฑุกุล, กิติพงษ์ พนมยงค์. โปรแกรมปกป้องบุคลากรจากสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19 สำหรับสถานบริการสาธารณสุข. กรุงเทพ: สถาบันอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์; 2563.
10. จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ. พฤติกรรมสุขภาพ: แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2560.
11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สำนักทะเบียนและประมวลผล. ข้อมูลนักศึกษาประจำปีการศึกษา 2563.สมุทรปราการ: สำนักทะเบียนและประมวลผล; 2563.
12. Krejcie RV, Morgan DW. Determining sample size for research activities. Educ Psychol Meas1970;30:607-10.
13. Bloom BS, Hastings JT. Handbook on formative and summative evaluation of student learning. Newyork: McGraw Hill; 1971.
14. วิเชียร เกตุสิงห์. ค่าเฉลี่ยกับการแปลความหมาย: เรื่องง่ายๆที่บางครั้งก็พลาดได้. ข่าวสารการวิจัยศึกษา2538;1:8-11.
15. พัสกร องอาจ, รัชฎาภรณ อึ้งเจริญ. พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19: กรณีศึกษานิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข2564;7(1):87-102.
16. ฮูดา แวหะยี. การรับรู้ความรุนแรงและพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (โควิด-19) ของวัยรุ่นในเขตตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน 2563;6(4):158-68.
17. ธานี กล่อมใจ, จรรยา แก้วใจบุญ, ทักษิกา ชัชวรัตน์. ความรู้และพฤติกรรมของประชาชนเรื่องการป้องกันตนเอง จากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ์ใหม่ 2019. วารสารวิจัยพยาบาลและสุขภาพ 2563;21(2):29-39.
18. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. วิจัยเชิงระบบเพื่อมาตรการที่เป็นระบบสู่พฤติกรรมหยุดโควิดที่ยั่งยืน. วิจัยเฉพาะกิจหยุด COVID-19ฉบับพิเศษ 2563; เดือนพฤษภาคม:5-9.
19. วิทยาศาสตร์กับการดูแลสุขภาพ.[อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 25 ธันวาคม 2563]. เข้าถึงได้จาก:https://krabongtan6213.wordpress.com/2016/10/05/health-science/
20. อานนท์ สีดาเพ็ง, นิคม มูลเมือง. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2556;1(1):59-86.
21. Poonaklom P, Rungram V, Abthaisong P, Piralam B. Factors Associated with Preventive Behaviors towards Coronavirus Disease (COVID-19) among Adults in Kalasin Province, Thailand. OSIR2020;13(3):78-89.
22. แนวพระจันทร์ ศรีหาวงศ์, กล้าเผชิญ โชคบำรุง. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้การรับรู้ปัจจัยเสี่ยงและคุณลักษณะทางประชากรกับพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบของประชาชนวัยผู้ใหญ่ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. ใน: เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ 2559วันศุกร์ที่ 15 มกราคม 2559. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น; 2559. หน้า 866-77.
23. กรรณิการ์ แสนสุภา, เอื้อทิพย์ คงกระพันธ์, อุมาภรณ์ สุขารมณ์, ผกาวรรณ นันทะเสน. การปรับตัวของนักศึกษาในสถานการณ์โควิด-19. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ 2563;6(2):79-92.
24. จุฬาภรณ์ โสตะ. แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2554.
25. วิญญ์ทัญญู บุญทัน, พัชราภรณ์ ไหวคิด, วิภาพร สร้อยแสง, ชุติมา สร้อยนาค, ปริศนา อัครธนพล, จริยาวัตร คมพยัคฆ์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ของผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลตำรวจ 2563;12(2):323-37.
26. ธิติมาส หอมเทศ. พฤติกรรมสุขภาพ. สมุทรปราการ: คอมเมอร์เชียลเวิลด์มีเดีย; 2553.
27. สุรีย์พันธุ์ วรพงศธร. การวิจัยทางสุขศึกษา. กรุงเทพฯ; สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2558.
28. เกษแก้ว เสียงเพราะ. สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2561.
29. ประกิจ อาษา, สุธาวัลย์ ธรรมสังวาลย์, จารุณี วรรณศิริกุล, ปิยะศักดิ์ ชมจันทร์. ระดับการรับรู้ข่าวสารและพฤติกรรมการแบ่งปันข่าวสารบนสื่อออนไลน์เกี่ยวเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของผู้รับสาร 4 ช่วงวัย. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์ 2563;19(2):126-43.
30. ศุภกร หวานกระโทก, จุไรรัตน์ วัชรอาสน์. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาเขต 18 จังหวัดชลบุรี. วารสารพยาบาลตำรวจ 2561;10(1):132-41.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-27