ฤทธิ์ต้านอักเสบและความเป็นพิษของสารสกัดใบลำพูและลำแพนต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวเพาะเลี้ยง
คำสำคัญ:
ต้านการอักเสบ, ความเป็นพิษต่อเซลล์ , ลำพู, ลำแพนบทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบและความเป็นพิษของสารสกัดใบลำพูและใบลำแพนที่สกัดด้วยตัวทำละลายชนิดเอทานอลต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวเพาะเลี้ยงชนิด K562, Molt4, HL60 และเซลล์ปกติเพาะเลี้ยงชนิด Vero ด้วยวิธี MTT และฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยปฏิกิริยา Griess ในเซลล์แมคโครฟาจเพาะเลี้ยงชนิด RAW 264.7 ที่ถูกกระตุ้นสาร LPS พบว่าสารสกัดใบลำพูที่ระดับความเข้มข้น 89.5 ± 6.45 µg/mL มีความเป็นพิษ (IC50) ต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวเพาะเลี้ยงชนิด HL60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนสารสกัดลำแพนที่ความเข้มข้นเท่ากับ 36.6 ± 5.38 µg/mL มีความเป็นพิษ (IC50) ต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวเพาะเลี้ยงชนิด K562 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ทั้งนี้สารสกัดใบลำพูและลำแพนไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ปกติเลี้ยงชนิด Vero (309.8 ± 6.58 และ 210.4 ± 7.27 µg/mL ตามลำดับ) นอกจากนี้สารสกัดใบลำพูที่ความเข้มข้น 26.5 ± 6.08 µg/mL สามารถยับยั้งการหลั่งไนตริกออกไซด์ได้ร้อยละ 50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับสารสกัดลำแพน (43.0 ± 6.06 µg/mL) ดังนั้นจากการทดสอบชี้ให้เห็นว่าสารสกัดใบลำพูและใบลำแพน มีฤทธิ์ต้านการอักเสบและฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวเพาะเลี้ยงชนิด K562, Molt4, HL60
References
Kantarjian H, Melo JV, Tura S, Giralt S, Talpaz M. Chronic myelogenous leukemia: disease biology and current and future therapeutic strategies. Hematology Am Soc Hematol Educ Program 2000;1:90-109.
Radi ZA, Kehrli ME, Jr., Ackermann MR. Cell adhesion molecules, leukocyte trafficking, and strategies to reduce leukocyte infiltration. J Vet Intern Med 2001;15(6):516-29.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน. คู่มือความรู้เรื่องป่าชายเลน. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: บริษัท พลอย มีเดีย จำกัด; 2564.
Bandaranayake WM. Bioactivities, bioactive compounds and chemical constituents of mangrove plants. Wetl Ecol Manag 2002;10:421–52.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. คลังความรู้ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง [อินเตอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 14 ม.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://km.dmcr.go.th/c_11/d_3072
วุฒิ วุฒิธรรมเวช. ในสารานุกรมสมุนไพร: รวมหลักเภสัชกรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์; 2540.
สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. ความหลากหลายทางชีวภาพในป่าชายเลนฝั่งอ่าวไทย และอันดามันตอนล่าง. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. กรุงเทพฯ; 2553.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. สมุนไพรในป่าชายเลน. ส่วนส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลน [อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 6 ม.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก https://dmcrth.dmcr.go.th/manpro/detail/11694/
ธวัชชัย แพชมัด, เกษร จันทร์ศิริ, จุรี เจริญธีรบูรณ์. การพัฒนาสารสกัดจากลําพูและการศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อใช้ทางยาและเครื่องสําอาง. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ; 2555
Yompakdee C, Thunyaharn S, Phaechamud T. Bactericidal activity of methanol extracts of crabapple mangrove tree (Sonneratia caseolaris Linn.) against multi-drug resistant pathogens. Indian J Pharm Sci 2012;74(3):230–6.
Haq I, Hossain ABMS, Khandaker MM, Merican AF, Faruq G, Boyce AN, et al., Antioxidant and antibacterial activities of different extracts and fractions of a mangrove plant Sonneratia alba. Int J Agric Biol 2014;14(4):707-14.
Charoenteeraboon J, Wetwitayaklung P, Limmatvapirat C, Phaechamud T. Hepatoprotective activity from various parts of Sonneratia caseolaris. Planta Med 2007;73(9):561.
Wu S-B, Wen Y, Li X-W, Zhao Y, Zhao Z, Hu J-F. Chemical constituents from the fruits of Sonneratia caseolaris and Sonneratia ovata (Sonneratiaceae). Biochem Syst Ecol 2009;37(1):1–5.
Dev S, Acharyya RN, Akter S, Al Bari MA, Asma K, Hossain H, et al., Toxicological screening and evaluation of anti-allergic and anti-hyperglycemic potential of Sonneratia caseolaris (L.) Engl. Fruits. Clin phytosci 2021;7(1):1–13.
Sadhu SK, Ahmed F, Ohtsuki T, Ishibashi M. Flavonoids from Sonneratia caseolaris. J Nat Med 2006;60(3):264-5.
Wetwitayaklung P, Limmatvapirat C, Phaechamud T. Antioxidant and anticholinesterase activities in various parts of Sonneratia caseolaris (L.). Indian J Pharm Sci 2013;75(6):649–56.
ฉัตรทาริกา อภิชาติวรกิจ, ไอลดา กลั่นสุข, สุวรรณา เสมศรี, สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา. ความเป็นพิษของสารสกัดตะไคร้ต้นต่อเซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวเพาะเลี้ยง. ว วิทย เทคโน หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2558;1(1):60-8.
สุวรรณา เสมศรี, นันทิกานต์ ยงพิศาลภพ, นวพร คงด้วง, สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา, วิชาญ จันทร์วิทยานุชิต. ฤทธิ์ของสารสกัดผักปลัง ผักแพว และผักแขยงต่อการต้านมะเร็งและการกลืนกิน สิ่งแปลกปลอมของเซลล์แมคโครฟาจ. ว วิทย เทคโน หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 2561;4(2):40-9.
Yuan C, Gao Ju, Guo Ji, Bai L, Marshall C, Cai Z, et al. Dimethyl Sulfoxide Damages Mitochondrial Integrity and Membrane Potential in Cultured Astrocytes. PLoS ONE 2014;9(9):e107447.
de Abreu Costa L, Henrique Fernandes Ottoni M, Dos Santos MG, Meireles AB, Gomes de Almeida V, de Fátima Pereira W. et al. Dimethyl sulfoxide (DMSO) decreases cell proliferation and TNF-α, IFN-γ, and IL-2 cytokines production in cultures of peripheral blood lymphocytes. Molecules 2017;22(11):1789.
สุวรรณา เสมศรี, โน้ต ซาดิลา จาลีล, สุธี สิงห์สนธิ์, สุรีย์พร หอมวิเศษวงศา, วิชาญ จันทร์วิทยานุชิต. ฤทธิ์ต้านการอักเสบและการกลืนกินสิ่งแปลกปลอมของสารสกัดใบกะเม็ง ใบสาบเสือ และใบบัวบก. ในเอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 7 วันที่ 7 มิถุนายน 2561 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปทุมธานี; 2561. หน้า 974-82.
Tuntipopipat S, Muangnoi C, Chingsuwanrote P, Parengam M, Chantravisut P, Charoenkiatkul S, et al., Anti-inflammatory activities of red curry paste extract on lipopolysaccharide-activated murine macrophage cell line. Nutrition 2011;27(4):479-87.
Nguyen THT, Pham HVT, Pham NKT, Quach NDP, Pudhom K, Hansen PE, et al. Chemical constituents from Sonneratia ovata Backer and their in vitro cytotoxicity and acetylcholinesterase inhibitory activities. Bioorg Med Chem Lett 2015;25(11):2366-71.
Wu SB, Wen Y, Li XW, Zhao Y, Zhao Z, Hu JF. Chemical constituents from the fruits of Sonneratia caseolaris and Sonneratia ovata (Sonneratiaceae). Biochem Syst Ecol 2009;37(1):1-5.
Abou Assi R, Darwis Y, Abdulbaqi IM, khan AA, Vuanghao L. Laghari MH.Morinda citrifolia (Noni): A comprehensive review on its industrial uses pharmacological activities, and clinical trials. Arab J Chem 2017;10(5):691–707.
Tian W, Wang C, Li D, Hou H. Novel anthraquinone compounds as anticancer agents and their potential mechanism. Future Med Chem 2020;12(7):627-44.
Chahar MK, Sharma N, Dobhal MP, Joshi YC. Flavonoids: A versatile source of anticancer drugs. Pharmacogn Rev 2011;5(9):1-12.
Middleton E Jr, Kandaswami C, Theoharides TC. The effects of plant flavonoids on mammalian cells: implications for inflammation, heart disease, and cancer. Pharmacol Rev 2000;52(4):673-751.
Genilar LA, Kurniawaty E, Mohd Mokhtar RA, Audah KA. Mangroves and Their Medicinal Benefit: A Mini Review. Ann Rom Soc Cell Biol 2021;25(4):695-709.
Van Thanh N, Jang HJ, Vinh LB, Linh KT, Huong PT, Cuong NX, et al. Chemical constituents from Vietnamese mangrove Calophyllum inophyllum and their anti-inflammatory effects. Bioorg Chem 2019;88:102921.
Kundu P, Debnath SL, Devnath HS, Saha L, Sadhu SK. Analgesic, Anti-inflammatory, Antipyretic, and In Silico Measurements of Sonneratia caseolaris (L.) Fruits from Sundarbans, Bangladesh. Biomed Res Int 2022;2022:1-16.
พันธุ์ทิพย์ วิเศษพงษ์พันธ์, ณภัทร พุทธิเมธากุล. ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดจากลําพู ลําพูทะเล และลําแพน. ในเอกสารการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 เล่ม 1 วันที่ 31 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2560. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ; 2560.
Laili K, Fatati N, Inneke PF, Setyo PA, Mardi S, Taslim E, Sri F. In vitro antioxidant activity of Sonneratia ovata Backer extract. Res J Chem Environ 2018;22(2):146-50.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ