การวิเคราะห์และลดต้นทุนโลจิสติกส์สำหรับผักออร์แกนิคในภาคตะวันตกของประเทศไทย (ANALYSIS AND LOGISTICS COST REDUCTION FOR ORGANIC VEGETABLES IN THE WEST OF THAILAND)

Authors

  • ธนาธร เกรอต หน่วยวิจัยการจัดการงานวิศวกรรม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ภัทรเวช ธาราเวชรักษ์ หน่วยวิจัยการจัดการงานวิศวกรรม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ชูศักดิ์ พรสิงห์ หน่วยวิจัยการจัดการงานวิศวกรรม ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords:

Logistics Cost Reduction, Value Stream Mapping, Activity Based Costing, Agricultural Products, Organic Vegetables

Abstract

This research emphasizes study of logistics cost of agricultural products: organic vegetable supply chain in the West of Thailand in order to present the guideline for sustainable supply chain cost reduction. The research began with study and collection of primary and secondary data of organic vegetable supply chain from material purchasing to product delivery to customers. The researchers categorize farms into systematic agriculture and unsystematic agriculture, then analyze value of activities in present supply chain for each category by value stream mapping, before eliminating non-value added activity and decreasing necessary but non-value added activity. According to the research result, total cycle time of organic vegetable for systematic agriculture and unsystematic agriculture was decreased by 0.78 percent and 5.55 percent, respectively. In addition, the risk value of activity delay for systematic agriculture was reduced by 21.43 percent at the cost 19.37 baht per kilogram while unsystematic agriculture risk was deducted by 21.43 percent at the cost 20.32 baht per kilogram. Moreover, activity base costing was used to analyze logistic cost and found the activities caused high logistic cost. Those activities for systematic agriculture are outbound product preparation and product grading, accounted for 22.10 percent of total logistic cost while those for unsystematic agriculture are outbound product preparation and product packing preparation which accounted for 23.46 percent of total logistic cost. Thus, researchers purposed guideline for decrease the cost of logistic activity, which could reduce the cost of systematic agriculture 113.770 baht per year and unsystematic agriculture 85,920 baht per year.

Downloads

Download data is not yet available.

References

[1] ศรัณยวีร์ คำสี. (2554). การเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์พริกหวานไฮโดรโปนิคส์เพื่อการส่งออก. วิทยานิพนธ์ วศ.ม. (สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ). จังหวัดเชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[2] คลอเคลีย วจนะวิชากร; ปานจิต ศรีสวัสดิ์; และ วรัญญู ทิพย์โพธิ์. (2558, กรกฎาคม - ธันวาคม). การประยุกต์ใช้แผนผังสายธารคุณค่าในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานหวดนึ่งข้าวอัตโนมัติในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 8(2): 1-13.
[3] สนั่น เถาชารี; และ ระพีพันธ์ ปิตาคะโส. (2555, กันยายน-ตุลาคม). การประยุกต์ใช้แผนผังสารธายคุณค่าในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานข้าวในภาคตะวันออกฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น. 17(5): 687-705.
[4] จุฑามาศ เนตรปัญญา; และ นิวิท เจริญใจ. (2555). การเพิ่มศักยภาพห่วงโซ่อุปทานของสตรอเบอรี่สดในจังหวัดเชียงใหม่. ใน เอกสารการประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี พ.ศ. 2555. 17-19 ตุลาคม 2555 ชะอำ เพชรบุรี: 1932-1937.
[5] ศิวพร สุกสี; และ วีรพัฒน์ เศรษฐ์สมบูรณ์. (2555, กรกฎาคม-กันยายน). การศึกษาต้นทุนการขนส่งและกระจายเอทานอลของผู้ประกอบการขนส่งน้ำมันเชื้อเพลิงในประเทศไทยด้วยระบบต้นทุนฐานกิจกรรม. วารสารแก่นเกษตร. 40(3): 201-207.
[6] ศศิธร อ่อนสนิท. (2554). การวิเคราะห์การลดต้นทุนโลจิสติกส์โดยใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (ABC) กรณีศึกษา: บริษัท จอห์นสัน คอนโทรล แอนด์ ซัมมิท อินทิเรียส์ จำกัด. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี. 115-122.
[7] ยุทธ ไกยวรรณ์. (2550). การวิจัยเพื่อการบริหารงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
[8] สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). ภาคตะวันตก (ประเทศไทย). สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2558, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ภาคตะวันตก_(ประเทศไทย)
[9] สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2553). โครงการศึกษาแนวทางการจัดการห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของสินค้าเกษตร. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2558, จาก https://www.isranew s.org/thaireform-data-economics/item/23923-logistics.html
[10] สายฝน คงประเวศ; และ ระพี กาญจนะ. (2555). การทบทวนวรรณกรรมการวิเคราะห์ต้นทุนโลจิสติกส์ด้วยวิธีต้นทุนตามฐานกิจกรรม. ใน เอกสารการประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี พ.ศ. 2555. 17-19 ตุลาคม 2555 ชะอำ เพชรบุรี: 2168-2176.
[11] สุวัฒน์ จรรยาพูน. (2552). ลดต้นทุนด้วยเทคนิค ECRS. สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2558, จาก https:// www.logisticsdigest.com/component/content/article/148-october-2009/2893-ลดต้นทุนด้วยเทคนิค-e-c-r-s.html

Published

2018-08-16

How to Cite

เกรอต ธ., ธาราเวชรักษ์ ภ., & พรสิงห์ ช. (2018). การวิเคราะห์และลดต้นทุนโลจิสติกส์สำหรับผักออร์แกนิคในภาคตะวันตกของประเทศไทย (ANALYSIS AND LOGISTICS COST REDUCTION FOR ORGANIC VEGETABLES IN THE WEST OF THAILAND). Srinakharinwirot University Journal of Sciences and Technology, 10(19, January-June), 75–91. retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/swujournal/article/view/140512