การตรวจวัดแก๊สเรดอนในน้ำบาดาลบริเวณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยวิธีการกัดรอย ทางนิวเคลียร์ THE INESTIGATION OF RADON IN GROUNDWATER OF THREE SOUTHERN PROVINCE USING NUCLEAR TECHIQUE
คำสำคัญ:
แก๊สเรดอน, น้ำบาดาล, แผ่น CR-39บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้ทำการตรวจวัดความเข้มของแก๊สเรดอนในน้ำบาดาล เก็บตัวอย่างน้ำบาดาลบริเวณ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ปัตตานี นราธิวาส และยะลา จำนวนทั้งหมด 45 ตัวอย่าง โดยใช้อุปกรณ์ชุดตรวจวัดรอยรังสีแอลฟาบนแผ่นพลาสติก CR-39 แล้วเก็บตัวอย่างน้ำ 40 วัน จึงนำมากัดขยายรอยทางนิวเคลียร์ด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ความเข้มข้น 6.25 N ที่อุณหภูมิ 60๐C เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ค่าความหนาแน่นรอยรังสีแอลฟาที่เกิดขึ้นบนแผ่นพลาสติก CR-39 สามารถคำนวณหาค่าความเข้มของแก๊สเรดอนในน้ำบาดาลได้ ผลจากการทดลองพบว่าบริเวณที่มีปริมาณความเข้มของแก๊สเรดอนมากที่สุดของแต่ละจังหวัด ได้แก่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลา มีค่าเท่ากับ 9.7 0.188738 Bq/l, 10.6244 0.163452 Bq/l และ 4.24975 0 Bq/l ตามลำดับ สำหรับปริมาณความเข้มของแก๊สเรดอนต่ำสุดของแต่ละจังหวัด มีค่าเท่ากับ 3.43 0.49677 Bq/l, 3.6 0.163452 Bq/l และ 0.653808 0 Bq/l ตามลำดับ และค่าความเข้มเฉลี่ยของแก๊สเรดอนเฉลี่ยในน้ำมีค่าเท่ากับ 6.55333 Bq/l, 5.526906 Bq/l และ 1.639259 Bq/l ตามลำดับ ทั้งนี้ตัวอย่างน้ำจากจังหวัดนราธิวาส ปัตตานี และยะลา มีค่าความเข้มของแก๊สเรดอนอยู่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานน้ำที่ USEPA ได้กำหนดไว้ 11 Bq/l [1-2] ซึ่งทำให้ไม่ก่อให้เกิดอันตราย
ต่อระบบหายใจและร่างกาย
Downloads
References
[2] United States Environmental Protection Agency. (1991). National Primary Drinking Water Regulation; Radionuclides; (Proposed Rules). Federal Register. US EPA.
[3] Thammawit, T. SriBuri, S. Kiatwattanacharoen, S. Somburn, & Hongsathi, p. (2014). Survey of Radon, Thoron and dust concentrations in the dwellings of Lung Lesion Patients at Hang Dong District, Chiang Mai. Researcher Development Fund. Chiang Mai University.
[4] Purit, Quinram, & Chadet, Yenchai. (2015). Specific Activity of Radium-226 in Groundwater in the Area of Roi Et Province. Thaksin University Journal, 18(3), 209-214.
[5] Puangpet, Sripradu, & Sompot, Nunboon. (2549). The Investigation of Radon Gas in Ground Water of Sahatsakhan, Kalasin Province Using Nuclear Technigue. Rajabhat Maha Sarakham University: Office of Academic Resources and Information Technology.
[6] Vitsanusat, Atyotha, & Phachirarat, Sola. (2015, March). Measurement of Radon in Drinking Waterat Amphur Meaung Khonkhaen with RAD H2O. National Science Research Conference. pp. 1-6.
[7] Natchaya, Janwichai. Adinan, Jehsu, & Nupatihah, Deeti. (2017, January). The Investigation of Radon Gas at Faculty of Science and Technology Building, Princess of Naradhiwas University, Using Nuclear Track Etching Technique. Princess of Naradhiwas University Jornal, 9(1), 161-167.
[8] Douha, R. Rabadi, & Khalid, M. Abumurad. (2008, August). Radon surveys in Ajloun city using CR-39 detectors. Radiation Measurements, 43(suppl. 1), S449-S451.
[9] Phachirarat, Sola. Kanitha, Srisuksawad. Anan, O-Manee. Pibool Issarapan., & Ludda, Thummagarun. (2011, July). Radon Concentration in Air, Hot Springs, and Bottled Mineral Water in Hot Spring, Suan Phueng District, Ratchaburi Province. Academic conference Nuclear Science and Technology, (12), 1-7.
[10] Vitsanusat, Atyotha. (2013). “The Study of Factors that Cause Cancer of the Concentration of Radium 226 in Nam Pong River at Khon Kaen Province”. Journal of Nurses’ Association of thailand, North-Eastern Division, 31(4), 136-143.
[11] Vitsanusat, Atyotha. (2013). “Determination of Radium-226 in Nam Pong river at Khonkaen province via manganese fibers using Gamma-spectrometry”. Thaksin University Journal, 16(3), 83-91.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivs 4.0 International (CC-BY-NC-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของวารสารสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบเปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต