ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการสกัดเพคตินจากลูกตาลสุกด้วยน้ำโดยไม่ปรับพีเอช (FACTORS AFFECT PECTIN EXTRACTION PROCESS FROM RIPEN SUGAR PALM BY WATER WITHOUT PH ADJUSTING)
บทคัดย่อ
ในงานวิจัยนี้ดำเนินการโดยใช้เนื้อลูกตาลสุกเป็นวัตถุดิบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาวิธีการสกัดเพคตินโดยไม่ปรับอุณหภูมิและพีเอชในการสกัด ปัจจัยที่ศึกษาได้แก่ อัตราส่วนน้ำ พีเอช และอุณหภูมิที่ใช้ในการสกัด ซึ่งทำการตรวจสอบผลกระทบต่อผลผลิตเพคตินที่ได้และคุณสมบัติของเพคติน พบว่าอัตราส่วนน้ำที่ใช้ในการสกัดคือ 1:3 1:5 1:7 1:9 และ 1:11 (เนื้อตาลสุก : น้ำ) ให้ผลผลิตเพคตินที่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) และผลของการสกัดที่อุณหภูมิห้องโดยไม่ปรับพีเอชให้ผลผลิตเพคตินสูงที่สุด (25.96 ± 1.75 %) ดังนั้นจึงเลือกสภาวะที่ให้ผลผลิตเพคตินสูงที่สุดคือการสกัดที่อุณหภูมิห้องโดยไม่ปรับพีเอช มาศึกษาคุณสมบัติของเพคติน เปรียบเทียบกับการสกัดแบบดั้งเดิม พบว่าคุณสมบัติของเพคตินคือ ปริมาณความชื้น เถ้า และปริมาณของกรดกาแลคทูโรนิค ให้ผลไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ส่วนผลการวิเคราะห์ระดับการเกิดเอสเทอริฟิเคชั่น มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P≤0.05) อย่างไรก็ตามเพคตินที่ได้จากลูกตาลสุกทั้ง 2 วิธียังจัดอยู่ในกลุ่มเพคตินที่มีหมู่เมทอกซิลต่ำ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าสามารถสกัดเพคตินจากเนื้อลูกตาลสุกได้ด้วยน้ำโดยไม่ปรับพีเอชที่อุณหภูมิห้อง โดยได้เพคตินที่มีคุณสมบัติไม่แตกต่างกัน
Downloads
References
[2] Thakur, B. R. (1997). Chemistry and uses of pectin. Critical Reviews in Food Science and Nutrition.
37(1): 47–73.
[3] กิตติพงษ์ ห่วงรักษ์. (2536). ผักและผลไม้. กรุงเทพฯ: ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์การอาหาร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
[4] ชวนิฏฐ์ สิทธิดิล; กรัตน์พิลาณี ไวถนอมสัตย์; จิราพร เชื้อกูล; และ ปริศนา สิริอาชา. (2548). การผลิตเพคตินจาก
เปลือกและกากส้มเหลือทิ้ง. ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 43. หน้า
469-480. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[5] ณรงค์ ศิริรัมย์; และ เมธินี เห่วซึ่งเจริญ. (2548). การสกัดและสมบัติของเพคตินจากกากฝรั่งพันธ์กลมสาลี่.
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. เชียงใหม่: คณะอุตสาหกรรม
เกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[6] ปาริฉัตร หยวกแฟง; นฤมล เผือกขาว; และ อรนาถ สุนทรวัฒน์. (2550). การหา degree of methyl esterification
ของเพคตินจากเปลือกแก้วมังกร. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 38:5(พิเศษ): 55-58.
[7] กนกพร สังขรักษ์; และ เจนจิรา โตะแบ. (2552). เพคตินจากเศษผักกาดขาวและการประยุกต์ใช้. ใน การประชุม
วิชาการและเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 19 ประจำปี 2552: การวิจัยและพัฒนาเพื่อความ
เป็นไทสำหรับสังคมไทย. หน้า 233-234. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
[8] สมฤทัย จิตภักดีบดินทร์; และ อมราวดี จางวาง .(2552). เพคตินจากเปลือกมะนาว. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์
มหาบัณฑิต. ปัตตานี: ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
[9] Rungrodnimitchai S. (2011). Novel source of pectin from young sugar palm by microwave assisted
extraction. Procedia Food Science. (1): 1553-1559.
[10] สุธิดา ทองคำ. (2552). การสกัดเพคตินจากจาวตาลและเมล็ดตาลอ่อน. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบุรี. 8(1): 45-51.
[11] สุธิดา ทองคำ; และ พูนศิริ ทิพย์เนตร. (2555). การสกัดเพคตินจากจาวตาล. วารสารวิทยาศาสตร์แห่ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. 9(1): 3-11.
[12] ศิวะเทพ เรืองพรหม; และ กิตติชัย บรรจง. (2557). การเปรียบเทียบคุณลักษณะและผลผลิตของเพกตินจาก
เปลือกตาลดิบที่ใช้แอลกอฮอล์นำกลับมาใช้ใหม่ทดแทนเอธิลแอลกอฮอล์ 95% ในขั้นตอนการตกตะกอน
และการล้าง. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 32(1): 50-58.
[13] Whister, R. L.; and BeMiller, J. N. (1973). Industrial gums: polysaccharides and their derivatives. New
York: Elsevier.
[14] มนัสนันท์ บุญทราพงษ์; กมลวรรณ แจ้งชัด; อนุวัตร แจ้งชัด; และ วิชัย หฤทัยธนาสันติ์. (2544). การศึกษา
คุณภาพของเนื้อตาลสุกและขนมตาลที่ผลิตจากเนื้อตาลสุกผ่านกระบวนการพาสเจอไรเซชัน. ใน การ
ประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 39. หน้า 425-433. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
[15] ณัฐนรี ใยเทศ; และ พรรษา เศษบุบผา. (2558). การสกัดเพคตินจากเนื้อลูกตาลสุกด้วยน้ำโดยไม่ปรับพีเอช.
สาขาวิศวกรรมแปรรูปอาหาร. กรุงเทพฯ: คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ
ทหารลาดกระบัง.
[16] AOAC. (2000). Official Methods of Analysis Association of Official Analytical Chemists. 17th Volume I.
USA.
[17] Ranganna, S. (1997). Manual of analysis of fruit and vegetable product. New Delhi: McGraw-Hill.
[18] Kulkarni, S. G.; and Vijayanand, P. (2010). Effect of extraction conditions on the quality characteristics
of pectin from passion fruit peel (Passiflora edulis f. flavicarpa L.). LWT-Food Science and
Technology. 43(7): 1026-1031.
[19] Massiot, P.; Rouau, X.; and Thibault, J. F. (1988). Isolation and characterisation of the cell-wall fibres
of carrot. Carbohydrate research. 172(2): 217-227.
[20] Voragen, A. G. J.; Pilnik, W.; Thibault, J.-F.; Axelos, M. A.; and Renard, C. M. G. C. (1995). Pectins. In
A. M. Stephen (Ed.). Food polysaccharides and their applications. pp. 287-340. New York: Marcel
Dekker.
[21] Assoi, S.; Konan, K.; Walker, L. T.; Holser, R.; Agbo, G. N.; Dodo, H.; and Wicker, L. (2014).
Functionality and yield of pectin extracted from Palmyra palm (Borassus aethiopum Mart) fruit.
LWT-Food Science and Technology. 58(1): 214-221.
[22] Methacanon, P.; Krongsin, J.; and Gamonpilas, C. (2014). Pomelo (Citrus maxima) pectin: Effects of
extraction parameters and its properties. Food Hydrocolloids. 35: 383-391.
[23] Muhamadzadeh, J.; Sadegi-Mahoonak A.R.; Yaghbani, M.; and Alami, M. (2010). Extraction of pectin
from Sunflower Head Residues of Selected Iranian Caltivars. Word Applied Science Journal. 8: 21-
24.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivs 4.0 International (CC-BY-NC-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของวารสารสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบเปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต