กิจกรรมการเรียนรู้แบบภาระงานด้วยการสาธิตและแสดงบทบาทสมมุติในรายวิชาสัมมนา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี การเรียนรู้แบบภาระงาน: การสาธิต: บทบาทสมมุติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบภาระงานด้วยการสาธิตและแสดงบทบาทสมมุติในรายวิชาสัมมนา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในรายวิชาสัมมนา 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบภาระงานด้วยการสาธิตและแสดงบทบาทสมมุติในรายวิชาสัมมนา
ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้แบบภาระงานด้วยการสาธิตและแสดงบทบาทสมมุติในรายวิชาสัมมนา ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี พบว่ามีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.15/82.72 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และ 3) ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบภาระงานด้วยการสาธิตและแสดงบทบาทสมมุติในรายวิชาสัมมนา อยู่ในระดับมาก ( mean =3.97, SD.=0.31)
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
[1] คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
[2] ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520.) ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[3] ดวงใจ พุทธเษม.(2560). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และการเรียนรู้เป็นทีมด้วยกระบวนการ แบบโครงงานผ่านอินโฟกราฟิก. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 4(1), 97-105.
[4] แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. (2560). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
[5] อนุชา โสมาบุตร. (2556). ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม สำหรับการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21. [เว็บบล็อก].สืบค้นจาก https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/learning-and-innovation-skills/
[6] อภิชาติ เหล็กดี วรปภา อารีราษฎร์ และ ฐิติมา ผ่องแผ้ว.(2560). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่อเสมือนจริงเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 4(2), 177-186.
[7] Driscoll, Margaret. (1998). Web – based Training. San Francisco: jossey – Bass Pfeiffer.
[2] ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520.) ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[3] ดวงใจ พุทธเษม.(2560). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และการเรียนรู้เป็นทีมด้วยกระบวนการ แบบโครงงานผ่านอินโฟกราฟิก. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 4(1), 97-105.
[4] แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. (2560). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
[5] อนุชา โสมาบุตร. (2556). ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม สำหรับการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21. [เว็บบล็อก].สืบค้นจาก https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/learning-and-innovation-skills/
[6] อภิชาติ เหล็กดี วรปภา อารีราษฎร์ และ ฐิติมา ผ่องแผ้ว.(2560). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่อเสมือนจริงเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 4(2), 177-186.
[7] Driscoll, Margaret. (1998). Web – based Training. San Francisco: jossey – Bass Pfeiffer.