ปัจจัยแห่งความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางธุรกิจแปรรูป การเกษตรไทย ในยุคไทยแลนด์ 4.0
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปัจจัยแห่งความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางธุรกิจแปรรูปการเกษตรไทย ในยุคไทยแลนด์ 4.0 กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางที่ประสบความสำเร็จในการประกอบการในกลุ่มธุรกิจแปรรูปเกษตร ที่ผ่านช่วงวิกฤตและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ดำเนินธุรกิจมากกว่า 10 ปี จำนวน 17 ราย โดยมีเครื่องมือวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางธุรกิจแปรรูปเกษตร มี 6 ด้าน ดังต่อไปนี้ ด้านที่ 1 ด้านส่วนบุคคลและทุนมนุษย์ ประกอบไปด้วย การลงทุนด้านทุนมนุษย์ ทักษะความสามารถเฉพาะตัว ประสบการณ์จากการทำงาน การเรียนรู้จากผู้รู้ ทุนมนุษย์ด้านความสัมพันธ์ ด้านที่ 2 ด้านความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ประกอบไปด้วยการยึดถือเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง การจัดการความเสี่ยง ความล้มเหลวธุรกิจก่อนหน้า ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาทักษะและความรู้ประกอบไปด้วย การเรียนรู้ตลอดเวลาและไม่หยุดหาความรู้ การหาความรู้จากผู้รู้จริงหรือเชี่ยวชาญ ประสบการณ์จากการทำงานก่อนหน้า การศึกษาการเป็นผู้ประการ ด้านที่ 4 ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล ประกอบไปด้วย การมีเป้าหมายชัดเจน การมองหาโอกาสและลงมือทำทันที การมีความสุขกับงานที่ทำ การยึดถือคุณธรรมในการดำเนินธุรกิจ การอดทนและไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค การมีความเชื่อมั่นในความสามารถของตน การมุ่งสำเร็จ และมีความกล้าเสี่ยง ด้านที่ 5 ด้านการบริหารองค์กร ประกอบไปด้วย การจัดหาและบริหารเงินลงทุนเพื่อขยายกิจการ การมีความเป็นผู้นำการบริหารทรัพยากรบุคคล การเลือกใช้เทคโนโลยี และสุดท้ายด้านที่ 6 ด้านปัจจัยส่งผลต่อความยั่งยืน ประกอบไปด้วย การถ่ายทอดวิธีการทำธุรกิจ ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมใหม่ การใช้ที่ปรึกษาด้านธุรกิจ ความสามารถในการจัดการภาวะวิกฤต
Article Details
References
[2] ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). รับมืออย่างไรในโลกที่ไม่แน่นอน. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAnd
Publications/PRNews/Pages/PRNews24Aug2019.aspx
[3] สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
[4] Lumpkin, G. & Dess, G. (1996). Clarifying the Entrepreneurial Orientation Construct and Linking It to Performance. The Academy of Management Review, 21(1), 135-172.
[5] Miller D, & Friesen, P.H. (1983). Strategy-making and environment: the third link. Strategic Management Journal, 4, 221–235. Retrieved from http://dx.doi.org/10.1002/smj.4250040304
[6] Lambing, P.A. & Kuehl, C.R. (2007). Entrepreneurship. Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.
[7] Kuratko, D.F. & Hodgetts, R.M. (1998). Entrepreneurship—A Contemporary Approach. Fort Worth: Dryden Press.
[8] Frese, M. (2000). Success and Failure of Microbusiness Owners in Africa: a Psychological Approach.
Santa Barbara, CA: Greenwood Publishing Group.
[9] Becker, G. S. (1993). Human Capital: A Theoretical and Empirical Analysis with Special Reference in Education (3rd ed.). Chicago: The University of Chicago Press.
[10] Rauch, A., & Frese, M. (2000). Psychological approaches to entrepreneurial success: A general model and an overview of findings. In C.L. Cooper & I.T. Robertson (Eds.), International Review of Industrial and Organizational Psychology. (pp. 101-142). Chichester: Wiley.
[11] Becker, B.E. & Huselid, M.A. (2006). Strategic human resources management where do we go from here. Journal of Management, 32(6), 898-925. Retrieved from https://doi.org/10.1177/0149206306293668
[12] Ardichvili, A., Cardozo, R., & Ray, S. (2003). A theory of entrepreneurial opportunity identification and development. Journal of Business Venturing, 18(1), 105-123.
[13] Ozgen, E. & Minsky, B.D. (2006). A perspective into entrepreneurial opportunity recognition in high technology domains: technical competencies as a source of information. Journal of Business and Entrepreneurship, 18(1), 60.
[14] Sinkula, J. M., Baker, W. E. & Noordewier, T. (1997). A framework for market-based organizational learning: Linking values, knowledge, and behaviour. Journal of the Academy of Marketing Science, 25(4), 305-318.
[15] Baker, W. E. & Sinkula, J. M. (1999). The synergistic effect of market orientation and learning orientation on organizational performance. Journal of the Academy of Marketing Science, 27 (4), 411-427.
[16] Ardichvili, A., Cardoza, R.N., Harmon, B. & Vadakath, S. (1998). Towards a theory of new venture growth. in P.D. Reynolds, W.D. Bygrave, N.M. Carter, S. Manigart, C.M. Mason, G.D. Meyer, & K.S. Shaver (Eds.). Frontiers of Entrepreneurship Research. Babson College, Wellesley, MA.
[17] Westerberg, M., Singh, J., & Hackner, E. (1997). Does the CEO matter? An empirical study of small Swedish firms operating in turbulent environments. Scandinavian Journal of Management, 13 (3), 251-270.
[18] Sambasivan, M., Abdul, M., & Yusop, Y. (2009). Impact of personal qualities and management skills of entrepreneurs on venture performance in Malaysia: opportunity recognition skills as a mediating factor. Technovation, 29(11), 798–805.
[19] Lawal, F. A., Worlu, R.E., & Ayoade, O. E. (2016). Critical Success Factors for Sustainable Entrepreneurship in SMEs: Nigerian Perspective, Mediterranean Journal of Social Sciences, 7 (3), 338-346.
[20] ปัทมา อินทรจันทร์ และฬุลิยา ธีระธัญศิริกลุ. (2562). ปัจจัยแห่งความสำเร็จด้านผู้ประกอบการของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 11(1), 289-303.
[21] Idris, A. & Hati, S.R.H. (2016). Corporate Credibility, Religion and Customer Support Intention toward Social Enterprises. In Social Enterprise-Context-Dependent Dynamics in A Global Perspective. London, UK.: IntechOpen. Retrieved from DOI:10.5772/62639
[22] LeBlanc, A. A. (2013). The effect of education and knowledge, experience, mentoring, and risk on the successful entrepreneur: A qualitative study. Doctoral dissertation. Capella University.