การพัฒนาระบบจัดเก็บฐานข้อมูลบุคลากรทางการศึกษาแบบ 360 องศา ระบบจัดเก็บฐานข้อมูลบุคลากรทางการศึกษาแบบ 360 องศา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาระบบจัดเก็บฐานข้อมูลบุคลากรทางการศึกษาแบบ 360 องศา 2) ประเมินประสิทธิภาพของระบบจัดเก็บฐานข้อมูลบุคลากรทางการศึกษาแบบ 360 องศา การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้พัฒนาระบบ ตามทฤษฏี SDLC กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพระบบ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานบุคลากร รวมจำนวน 5 คน เครื่องมือในการวิจัย คือ ระบบจัดเก็บฐานข้อมูลบุคลากร แบบ 360 องศา และแบบประเมินประสิทธิภาพระบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
- ระบบจัดเก็บฐานข้อมูลบุคลากรทางการศึกษาแบบ 360 องศา สามารถใช้งานได้จริง บุคลากรภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถเข้าถึงนำข้อมูลบุคลากรได้ตรงตามความต้องการ ซึ่งระบบดังกล่าวประกอบด้วย 16 ส่วน ได้แก่ ระบบแสดงข้อมูลบุคลากรทั้งหมด ระบบแสดงข้อมูลบุคลากรแบบแยกสังกัด ระบบสมัครสมาชิก ระบบล็อกอิน ระบบเพิ่มข้อมูลความเชี่ยวชาญ ระบบเพิ่มข้อมูลด้านคุณวุฒิ ระบบเพิ่มข้อมูลด้านงานบริหาร ระบบเพิ่มข้อมูลด้านงานสอน ระบบเพิ่มข้อมูลด้านเอกสาร-ตำรา ระบบเพิ่มข้อมูลด้านงานวิจัย ระบบเพิ่มข้อมูลด้านการตีพิมพ์งานวิจัย ระบบเพิ่มข้อมูลด้านบริการวิชาการ ระบบเพิ่มข้อมูลด้านทำนุศิลปวัฒนธรรม ระบบเพิ่มข้อมูลด้านวิทยากร-ถ่ายทอดความรู้ ระบบเพิ่มข้อมูลด้านผลงาน-รางวัล และระบบเพิ่มข้อมูลด้านเกียรติบัตร-ประกาศนียบัตร
- ผลการประเมินประสิทธิภาพระบบ จากผู้เชี่ยวชาญมีผลการประเมินโดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( x)=4.56, S.D. = 0.50)
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิจัย
References
[1] กิตติภักดี วัฒนะกุลและจาลอง ครูอุตสาหะ. (2544) : การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System
Development).
[2] กิตติภักดี วัฒนะกุลและจาลอง ครูอุตสาหะ. (2544) : วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
(Database Life Cycle : DBLC).
[3] จาวาสคริปต์.(2562).สืบค้นจากhttps://th.wikipedia.org/wiki/จาวาสคริปต์
[4] ชาลี และเทพฤทธิ์. (2544 : 38 - 80) วิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุโดยใช้ยูเอ็มแอล (Unified Modeling Language : UML).
[5] ฐานข้อมูล PHP My Admin.(2562).สืบค้นจากhttps://www.aosoft.co.th/article/310/phpMyAdmin-คือ
อะไรA3.html
[6] ธีรพล ด่านวิริยะกุล. (2549 : 34) วิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุโดยใช้ยูเอ็มแอล (Unified Modeling
Language : UML).
[7] บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก, 2545.
[8] พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. ครั้งที่ 1. นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ จำกัด.กรุงเทพฯ.1436 หน้า
[9] ภาษาพีเอชพี(2562).สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาพีเอชพี
[10] มนตรี ปาปะกัง. (2544). ระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากรเทศบาลเมืองยโสธร. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์.
[11] มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). สถิติและวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยี
Development).
[2] กิตติภักดี วัฒนะกุลและจาลอง ครูอุตสาหะ. (2544) : วงจรชีวิตของการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
(Database Life Cycle : DBLC).
[3] จาวาสคริปต์.(2562).สืบค้นจากhttps://th.wikipedia.org/wiki/จาวาสคริปต์
[4] ชาลี และเทพฤทธิ์. (2544 : 38 - 80) วิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุโดยใช้ยูเอ็มแอล (Unified Modeling Language : UML).
[5] ฐานข้อมูล PHP My Admin.(2562).สืบค้นจากhttps://www.aosoft.co.th/article/310/phpMyAdmin-คือ
อะไรA3.html
[6] ธีรพล ด่านวิริยะกุล. (2549 : 34) วิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุโดยใช้ยูเอ็มแอล (Unified Modeling
Language : UML).
[7] บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก, 2545.
[8] พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. ครั้งที่ 1. นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ จำกัด.กรุงเทพฯ.1436 หน้า
[9] ภาษาพีเอชพี(2562).สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาพีเอชพี
[10] มนตรี ปาปะกัง. (2544). ระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากรเทศบาลเมืองยโสธร. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์.
[11] มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). สถิติและวิธีการวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยี