การพัฒนาเครื่องขัดผิวลำอ้อย

Main Article Content

อาทิตย์ ดานขุนทด พงษ์สิทธิ์ ยอดสิงห์ ศักดิ์สิทธิ ไกรสุข อธิรัช ลี้ตระกูล อาทิตยา ดวงสุพรรณ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานเครื่องขัดผิวลำอ้อยและเปรียบเทียบกับเครื่องต้นแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัย ประกอบด้วย ตารางบันทึกผลการทดสอบเพื่อบันทึกค่าต่าง ๆ ของการทดสอบ ได้แก่ เวลา ความเรียบผิว ความโตหลังขัด สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย


            ผลการทดสอบ พบว่า การขัดผิวเปลือกลำอ้อยน้ำหนักก่อนขัดผิวอ้อยโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 700.66 กรัม และหลังขัดผิวอ้อยในอัตราเฉลี่ย 685 กรัม ซึ่งขนาดก่อนขัดผิวอ้อยโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 30.93 มิลลิเมตร และ ขนาดหลังขัดผิวอ้อยโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 29.8 มิลลิเมตร    

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

พิมพ์พรรณ ปรืองาม นงลักษณ์เล็กรุ่งเรืองกิจ และภวินท์ ธัญภัทรานนท์. (2560). เครื่องล้างท้าความสะอาด

อ้อยสำหรับท้าอ้อยคั้นน้ำ. วารสารสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย. 23 (2) : 52-58

มงคล กวางวโรภาส, มนตรี ทองยา, วิเชฐ ศรีชลเพชร และ สมบัติ ขาวประทีป. (2545). โครงการกาพัฒนา

เครื่องคั้นน้ำอ้อยสด. สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ปองพล ปลื้มสติ และอดิรุช วีระตะนนท์. (2546). การออกแบบและการสร้างเครื่องทำความสะอาดอ้อย.

คณะวิศวกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม.

วิมล บุญรอด. (2555). ปัจจัยในการกลึงปอกที่มีผลต่อความขุรขระผิวอะลูมิเนียมหล่อกึ่งของแข็ง.

ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

รัชฎาพร มะหาโชติ. (2564). เรื่องราวของอ้อย พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :

https://www.raimaijon.com/th/2020/09/01/sugarcane-an-important-thai-

economic-crop/. สืบค้น 8 กุมภาพันธ์ 2564.

สาขาการออกแบบเเละเทคโนโลยี. (2564). กระบวนการเทคโนโลยี. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :

http://designtechnology.ipst.ac.th/?page_id=165. สืบค้น 8 กุมภาพันธ์ 2564.

สมบัติ ขาวประทีป. (2545). การศึกษาการทำงานของเครื่องคั้นน้ำอ้อย สดขนาดเล็กในการคั้น

น้ำอ้อยที่ทำความสะอาดผิวโดยการขูดผิว ขัดผิว และปอกเปลือก วิทยานิพนธ์ปริญญาโท.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,วิทยาเขตกำแพงแสน.