การพัฒนากรอบแนวคิดเพื่อออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันคู่มือนักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์

Main Article Content

Watcharakiti Sangsuwan
Pongpipat Saitong
Jantima Polpinij

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาคู่มือนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์ 2) เพื่อออกแบบส่วนประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design) ของแอปพลิเคชันคู่มือนักศึกษาต้นแบบ 3) เพื่อประเมินประเมินคุณภาพกรอบแนวคิดของแอปพลิเคชันคู่มือนักศึกษา โดยประเมินจากผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ทำงานด้านการออกแบบส่วนประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience : UX)  ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยการพิจารณาแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating scale) 5 ระดับ


ผลการวิจัยสำคัญพบว่า 1) จากการศึกษาข้อมูลสำคัญของคู่มือนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์พบว่า คู่มือเล่มนี้มีส่วนประกอบทั้งหมด 16 ด้านที่สำคัญ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ ผู้วิจัยจะนำมาเข้าสู่กระบวนการเก็บข้อมูลศึกษาประสบการณ์ของผู้ใช้บริการ และออกแบบส่วนประสบการณ์ผู้ใช้ เพื่อออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยต่อไป 2) กระบวนการออกแบบส่วนประสบการณ์ผู้ใช้ ประกอบด้วย (1) ส่วนประสบการณ์ของผู้ใช้บริการ (Customer Experience) (2) การร่างแบบ (Sketching) (3) สร้างผลิตภัณฑ์ดิจิทัลต้นแบบ (Digital Product Prototype) (4) การทดสอบและปรับปรุง (Testing And Refining)     (5) การเริ่มใช้งาน (Launching)  3) พบว่าส่วนประสบการณ์ผู้ใช้ที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพโดยอยู่ในระดับดี คือค่า (𝑥̅ = 3.86, S.D. = 0.97) ซึ่งมีผลที่สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้


คำสำคัญ (Keywords) : ประสบการณ์ของผู้ใช้บริการ,  ส่วนประสบการณ์ผู้ใช้,  ส่วนติดต่อผู้ใช้,  แอปพลิเคชัน,  คู่มือนักศึกษา


         

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤษฎา เฉลิมสุข. (2561). “UI vs. UX: อะไรคือความแตกต่างระหว่าง user interface และ user

Experience”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.thaiprogrammer.org/2018/

/ui-vs-ux-อะไรคือความแตกต่างระห/. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566.

กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย. (2564). “การออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface Design)”. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก : https://touchpoint.in.th/user-interface-design/. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566.

คารีม นาเดอร์. (2566). “การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (UX)”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://appmaster.io/th/blog/kaar-kaebb-ux-prasbkaarnphuuaich. สืบค้น 2 เมษายน 2566.

คอนเทนต์ชิฟู. (2564). “โลกเปลี่ยน CX ยิ่งสำคัญ! สรุปงาน CX Champion ถอดรหัสผู้นำเกมด้าน CX ยกระดับ

ประสบการณ์ของลูกค้าอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :

https://contentshifu.com/blog/cx-champion-webinarsummary#Topic_1. สืบค้น

มีนาคม 2566.

ดีมีเตอร์. (2564). “ประสบการณ์ของลูกค้า (CX) คืออะไรกันแน่? ทำไมสำคัญกับธุรกิจยุค 2021”. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก : https://www.dmit.co.th/th/zendesk-updates-th/what-exactly-is-cx-2021/.

สืบค้น 28 มีนาคม 2566.

ปกรณ์ เจียมสกุลทิพย์. (2564). “User Experience Design ออกแบบที่มากกว่าแค่ออกแบบ”. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก : https://forbesthailand.com/insights/commentaries/user-experience-

design-ออกแบบที่มากกว่าแค่. สืบค้น 2 เมษายน 2566.

ปอนด์. (2562). “เข้าใจ UX ประสบการณ์ผู้ใช้ส่งผลแค่ไหนกับการตลาด”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :

https://contentshifu.com/blog/why-ux-is-important. สืบค้น 2 เมษายน 2566.

พงษ์พิพัฒน์ สายทอง. (2562). การออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันบริจาคโลหิต U-Blood โรงพยาบาล

สุธาเวช คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คณะวิทยาการสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พิมผกา ประเสริฐศิลป์. (2561). รายงานผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร Android Programming

& UX/UI for Mobile App. กรุงเทพฯ: บริษัท โค้ดโมบายส์ จำกัด

ลลิตา พวงมหา. (2564). “แนวทางการ บริหารประสบการณ์ลูกค้าด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง”.

Journal of Communication Arts. 39(3) : 113-123.

วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์. (2566). คู่มือนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์. สุรินทร์:

บริษัท รุ่งธนเกียรติออฟเซ็ท จำกัด

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

(ฉบับที่ 13) (พ.ศ. 2566 - 2570)”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.nesdc.go.th/

download/Plan13/Doc/Plan13_Final.pdf. สืบค้น 27 มิถุนายน 2566.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2566). “นโยบายการปฏิบัติราชการสำนักงานคณะกรรมการการ

อาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประชุมสัมมนาผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สอศ.

ครั้งที่ 1/2566”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.vec.go.th/ข่าว/ข่าวประชาสัมพันธ์/

รายละเอียดข่าวประชาสัมพันธ์ tabid/6276/ArticleId/40220/language/th-TH/40220.aspx.

สืบค้น 27 มิถุนายน 2566.

สเต็ปส์ อะคาเดมี่. (2564). “Customers Experience คืออะไร และ แตกต่างจาก UX, UI อย่างไร”.

[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://stepstraining.co/strategy/what-is-customers-experience. สืบค้น 28 มีนาคม 2566.

เอริน ฮัฟฟ์เนอร์. (2565). “ประสบการณ์ลูกค้าคืออะไร จะมอบ CX อันยอดเยี่ยมได้อย่างไร”. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก : https://www.zendesk.com/th/blog/why-companies-should-invest-in-the-

customer-experience/. สืบค้น 28 มีนาคม 2566.

Gaizauskas, R., & Wilks, Y. (1998). “Information extraction: Beyond document retrieval”.

Journal Of documentation. 54(1) : 70-105.

Garrett, J.,J. (2002). “The Elements of User Experience: User-Centered Design for the Web

United States: AIGA, 2002. E-book”. [Online]. Available : http://ptgmedia.pearsoncmg.

com/images/9780321683687/samplepages/0321683684.pdf. Retrieved April 02, 2023.

Saitong, P. (2022). “Designing, Developing, and Efficiency Evaluation of a Smartphone

Application for Blood Donation”. Ingénierie des Systèmes d'Information. 27(4).